Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไข - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไข
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓
บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ
มาตรา ๔
การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม
“การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา
ในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย
สถาบัน มหาวิทยาลัย
“สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
“มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์
การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก
ผู้สอน” หมายความว่า ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
“ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งท าหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ
มาตรา ๕
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
มาตรา ๑๔
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบ
มาตรา ๑๖
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับอุดมศึกษา
มาตรา ๑๕
การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา ๑๘
การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๑๑
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
ได้รับการศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๑๗
มาตรา ๗
ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตส านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๑๓
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคล
การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
มาตรา ๖
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด ารงชีวิต
มาตรา ๑๒
แบ่งออกเป็น
รัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว
องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๙
กฎหมายว่า ด้วยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๙
การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัต
มีการกระจายอ านาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น
มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษา
มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๘
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตส าหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา ๑๐
การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๑๗
ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี
มาตรา ๒๕
รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรา ๓๒
การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลัก
มาตรา ๒๑
นโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรา ๓๓
ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬา
มาตรา ๒๐
ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ
มาตรา ๓๑
กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และกำกับดูแลการศึกษา
มาตรา ๒๖
ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน
มาตรา ๒๒
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้
มาตรา ๒๘
หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสำหรับบุคคล
มาตรา ๓๐
สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
มาตรา ๒๙
จัดการศึกษาอบรม
มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชน
มาตรา ๒๓
กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสม
มาตรา ๒๗
ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๓๕
ค์ประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ ประกอบด้วย กรรมการโดย
ต าแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กร
วิชาชีพ
มาตรา ๒๔
การจัดกระบวนการเรียนร
มาตรา ๓๔
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๓๖
มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสภา
สถานศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ
มาตรา ๓๗
บริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดย
คำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนสถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรมและความเหมาะสม
มาตรา ๔๐
สถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษาเพื่อท าหน้าที่กำกับและส่งเสริม
สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
มาตรา ๖๒
ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล
มาตรา ๕๕
กฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ
มาตรา ๗๐
บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และค าสั่งเกี่ยวกับ
การศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
มาตรา ๖๖
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๕๘
การระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน
ทั้งจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๖๔
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตำรา
มาตรา ๖๐
ห้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความส าคัญสูงสุด
มาตรา ๖๘
มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงิน
อุดหนุนของรัฐ
มาตรา ๕๖
การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา มาตรฐาน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรา ๔๓
มาตรา ๕๔
ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ
มาตรา ๕๓
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็น
องค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
มาตรา ๖๓
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวน าและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็น
มาตรา ๖๕
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๑
ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล
มาตรา ๖๗่
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา
มาตรา ๕๙
สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอ านาจในการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษา
ใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
มาตรา ๖๙
รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางท าหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม
และประสานการวิจัย
มาตรา ๕๗
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของบุคคลดังกล่าวมาใช้
เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาและยกย่องเชิดชู