Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, 3 อย่าง…
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดสุขภาพจิตและความผิดปกติทางจิต
องค์ประกอบของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี
มีสุขภาพกายดี
รู้จักและเข้าใจตนเอง
มีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ รู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์
รู้จักตนเองว่ามีความสามารถ มีสุขภาพ มีสติปัญญา และฐานะทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับใด
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ไปในทางที่สร้างสรรค์ ใช้เวลา ทุกนาทีอย่างมีคุณค่าต่อชีวิต
แต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ
ปรับตัวได้ดีในสถานการณ์ต่าง ๆ วิเคราะห์และวางแผนแก้ปัญหา ประเมินผล
รู้จักและเข้าใจผู้อื่น
เข้าใจและยอมรับว่าทุกคนมีความแตกต่าง
มีความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
มีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้อื่นด้วยใจบริสุทธิ์
เข้าใจความเป็นจริงของธรรมชาติแห่งชีวิต
ยอมรับความจริงว่าชีวิตย่อมมีการเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้
กล้าแสดงออกเพื่อปกป้องความถูกต้อง ความยุติธรรม คุณธรรมในสังคมด้วยสติ ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
ชีวิตเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม ถ้าไม่มีสิ่งแวดล้อม ชีวิตจะไม่สามารถอยู่ได้
สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบทางสังคม เช่น ปฏิบัติตามกฎหมาย จารีต ประเพณี ต่างๆ
ตระหนักถึงหน้าที่ของตนที่ต้องรับผิดชอบ ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม
ลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต
ระดับความรู้สึกตัว
ความคิด
ลักษณะอารมณ์
คำพูด
การรับรู้สิ่งเร้า
ความจำ
พฤติกรรมภายนอก
การตัดสินใจ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
ความสามารถในการปรับตัว
การอบรมเลี้ยงดู
ปัจจัยทางสังคม
เศรษฐกิจและสังคม
ภัยสงครามและภัยธรรมชาติ
การศึกษา
มลภาวะ
ปัจจัยทางชีวภาพ
ระบบต่อมไร้ท่อ
สารชีวเคมีในร่างกาย อิทธิพลของพันธุกรรม
ความต้องการทางร่างกาย
ความบกพร่องทางร่างกาย
ความต้องการส่วนบุคคล
ความต้องการพื้นฐานเพื่อการดำรงชีพ
ความต้องการทางสติปัญญา
เพศและวัย
หลักการสัมภาษณ์ประวัติทางจิตเวช
ความคิด
การรับรู้
อารมณ์และการแสดงออก
การทำงานของสมอง
การพูด
การตระหนักรู้ตนเองต่อความเจ็บป่วย
ลักษณะโดยทั่วไป
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ซิกมันด์ ฟรอยด์
เชื่อว่าพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์มีความหมายซ่อนอยู่เบื้องหลังพฤติกรรม เหตุการณ์ต่างๆ ที่เข้ามากระทบจิตใจ มองประสบการณ์ในวัยเด็กซึ่งเชื่อว่าเป็นสาเหตุให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจหรือบุคลิกภาพเบี่ยงเบนเมื่อเด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่
แนวคิดหลัก
แรงขับ,สัญชาตญาณ 2 อย่าง มีชีวิตรอด
ทางเพศ = Sexual of life instinct
ความก้าวร้าว = Death wish
ระดับของจิตใจ มี 3 ระดับ
จิตใกล้สำนึก( Subconsciousness) = เป็นประสบการณ์ที่สะสมไว้ในลักษณะเลือนลาง เมื่อกระตุ้นจะรู้แล้วจำได้
จิตใต้สำนึก ( Unconsciousness) = สภาวะที่บุคคลเก็บกดในสิ่งที่ไม่ต้องการ
จิตสำนึก ( Consciousness) = ประสามสัมผัสทั้ง 5
โครงสร้างของจิตใจ
ID = สันดานดิบ ตามสัญชาตญาณ
Ego = การปฏิบัติในความจริง รู้จักยับยั้ง รู้จักใช้เหตุผล
superego = มโนธรรม กฎ ระเบียบ
ความขัดแย้งในใจ
กลไกทางจิต
ลืม (Suppression) ผลักดันสิ่งที่ไม่สบายใจ กังวลใจ โดยลืม ไม่นึกถึงเกิดขึ้นในระดับจิตรู้สานึก
โทษตัวเอง (Introjection) เมื่อเกิดข้อผิดพลาด จะคิดว่าเป็นความผิดของตนเอง
เก็บกด (Repression) เก็บความทุกข์ ความรู้สึกผิดหวัง ไว้ในจิตใต้สำนึก
โทษผู้อื่น (Projection) ตัวเองทาผิดแต่ไม่มองตนเอง ไม่พิจาณาเหตุและผล
ถดถอย (Regression) ถอยกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทาให้ตนเองประสบความสาเร็จ หรือมีความสุข
ถอยหนี (Withdrawal) หลีกออกจากความจริง จากสถานการณ์ที่ทาให้วิตกกังวล ไปอยู่ตามลาพัง โดยไม่คิดแก้ปัญหา
ปฏิเสธ (Denial) ไม่ยอมรับความจริงที่มีผลกระทบต่อจิตใจอย่างรุนแรง
แยกตัว ( Isolation) แยกความคิด ความรู้สึกไม่สบายใจ
ทดแทน (Sublimation) หาสิ่งที่สังคมยอมรับมาปฏิบัติทดแทนพฤติกรรม ความคิด ความรู้สึกที่สังคมไม่ยอมรับ
แปลงความรู้สึก (Conversion) กระบวนการเปลี่ยนแปลงความขัดแย้งในจิตใจระดับจิตใต้สานึก เพื่อดึงความสนใจไปอยู่ที่อาการทางกาย
หาเหตุผล (Rationalization) หาเหตุผลมาอธิบายเข้าข้างตนเอง
ทำตรงข้าม (Reaction formation) แสดงออกตรงข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริงที่สังคมไม่ยอมรับ
สำนึกผิด (Undoing) แสดงพฤติกรรมขอขมา ไถ่โทษ เพื่อลบความผิด
ย้ายที่ (Displacement) ระบายอารมณ์โกรธ ไม่พึงพอใจ ไปกับบุคคล สัตว์หรือสิ่งของที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุ
ชดเชย (Compensation) สร้างปมเด่นขึ้นมาปกปิดปมด้อย
เลียนแบบ (Identification) เลียนแบบพฤติกรรมท่าทางความคิดของบุคคลที่ตนเองชื่นชอบ
ฝันกลางวัน (Fantasy) เมื่อบุคคลไม่สมหวังในโลกความเป็นจริง จึงสร้างโลกจินตนาการ
พัฒนาการบุคลิกภาพ 5 ระยะ
Phallic phase 4-5 yr. เลียนแบบเพศที่เหมาะสม ปมปิตุฆาต
พฤติกรรมปัญหา แสดงอัตลักษณ์เพศไม่เหมาะสม
Latency phase 6-11 yr. สร้างสัมพันธ์กับเพื่อน ปัญหาทักษะทางสังคม ปมด้อย
Anal phase 2-3 yr. ควบคุมการขับถ่าย ระเบียบวินัย
พฤติกรรมปัญหา วิตกกังวลสูง เป๊ะจู้จี้จุกจิก ย้าคิดยาทา ขี้เหนียว หรือตรงข้าม ไร้ระเบีย
Genital phase 12 + yr.สัมพันธ์เพศตรงข้าม ปัญหาบทบาทไม่เหมาะสมกับเพศ
Oral phase 0-1 yr.พฤติกรรมทางปาก ดูด กิน กัด แทะ
พฤติกรรมปัญหา กัดเล็บ ดูดนิ้ว กินจุบจิบ ติดยา ติดเหล้า
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีจิตวิเคราะห์และพัฒนาการบุคลิกภาพ
• การพูดโดยเสรี
• การซักประวัติตั้งแต่แรกเกิด ประสบการณ์ในวัยเด็ก ความขัดแย้ง วิตกกังวล
• การแปลความฝัน
การถ่ายโยงความรู้สึก
• เข้าใจการทางานของจิตสานึก จิตไร้สานึก กลไกทางจิต
• เข้าใจพัฒนาการบุคลิกภาพที่เกิดจากการหยุดชะงักในแต่ละขั้น
• การทาจิตบาบัด เข้าใจตนเอง เกิด insight
• การป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
ทฤษฏีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของ Sullivan
เชื่อเรื่องสัมพันธภาพทำให้มนุษย์ดำรงชีวิตได้ เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและบุคลิกภาพ
แนวคิดหลัก
ความวิตกกังวลเกิดจากการไม่ได้รับการตอบสนองความพึงพอใจ
ความพึงพอใจที่ได้รับการตอบสนองทางกาย
ความรู้สึกมั่นคงในสัมพันธภาพ แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่มีคุณค่า เพื่อลดความวิตกกังวล
ระบบตัวตน Self system : Good me, Bad me, Not me นาไปสู่การเจ็บป่วยทางจิต
พัฒนาการสัมพันธภาพตามวัย 6 ขั้น
วัยเด็ก ( 18 เดือน -6 ปี ) อัตมโนทัศน์ เพศ เพื่อน
วัยทารก ( 0 –18เดือน ) สัมพันธภาพกับผู้เลี้ยงดู
วัยเริ่มรุ่น ( 6 –9ปี ) มีส่วนร่วมในสังคม ครู เพื่อน
ก่อนวัยรุ่น ( 9 –12ปี ) ใกล้ชิดเพื่อนเพศเดียวกัน
วัยรุ่นตอนต้น ( 12 –14ปี ) หาเอกลักษณ์ เพื่อนเพศเดียวกันเพื่อนต่างเพศ
วัยรุ่น ( 14 -21 ปี ) มีเอกลักษณ์ พัฒนาตนสู่สังคม
การเกิดพฤติกรรมผิดปกติตามแนวคิดทฤษฎี
เกิดจากระบบตัวตนถูกขัดขวางและถูกรบกวนไม่ให้ได้รับความพึงพอใจ เกิดความไม่มั่นคงทางใจจากการมีสัมพันธภาพในขั้นต่างๆของพัฒนาการแต่ละช่วงวัย ส่งผลให้บุคคลเกิดความวิตกกังวลอย่างรุนแรง ไม่สามารถปรับตัว ไม่เข้าใจตนเอง หลีกหนีและปฏิเสธที่จะมีสัมพันธภาพกับบุคคลเกิดปัญหาจิตอารมณ์
ทฤษฎีพัฒนาการจิตสังคมของอิริคสัน
แบ่งเป็นขั้นต่างๆ 8 ขั้น
ขั้นที่ 4 วัยเรียน = มีคุณค่าประสบความสาเร็จ - ปมด้อย
ขั้นที่ 3 วัยเด็กตอนปลาย = ความคิดริเริ่ม–รู้สึกผิด
ขั้นที่ 2 วัยเด็กตอนต้น = รู้สึกเป็นอิสระ–ละอายไม่แน่ใจ
ขั้นที่ 5 วัยรุ่น = เอกลักษณ์ของตนเอง – สับสนในบทบาท
ขั้นที่ 1 วัยทารก = ความไว้วางใจ–ไม่ไว้วางใจ
ขั้นที่ 6 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น = ใกล้ชิดสนิทสนม – อ้างว้าง
ขั้นที่ 7 วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง = รู้สึกจะเป็นผู้ให้กำเนิดและสร้างสรรค์สังคม – เห็นแก่ตัว
ขั้นที่ 8 วัยสูงอายุ = รู้สึกมั่นคงในชีวิต - รู้สึกสิ้นหวัง
การเกิดพฤติกรรมผิดปกติตามแนวคิดทฤษฎี
ไม่สามารถผ่านวิกฤตการณ์ทางสังคมในขั้นใดขั้นหนึ่งของพัฒนาการจะมีผลต่อเนื่องไปยังพัฒนาการขั้นต่อไป เกิดเป็นความบกพร่องและปัญหาทางจิตใจสังคม
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้แบบคลาสสิก(วางเงื่อนไข) การตอบสนองทางกาย(ไม่ตั้งใจ) ที่เกิดจากการทำงานของ ANS (autonomic nervous system) ระบบประสาทอัตโนวัติ
การเรียนรู้แบบการกระทำพฤติกรรมที่เกิดแบบตั้งใจ เพื่อให้ “ได้” หรือ “ไม่ได้”สิ่งต้องการ หรือ สิ่งไม่ต้องการ
การเสริมแรง ทางบวก ( + สิ่งที่อยากได้ ) ทางลบ (-สิ่งที่ไม่อยากได้)
การลงโทษ (+ สิ่งที่ไม่อยากได้ )
การอบรมสั่งสอน ทาตาม แยกแยะได้ เช่น ผู้ใหญ่ให้ของต้องยกมือไหว้ เพื่อนให้ไม่ต้องไหว้
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบผลของการกระทำ ของสกินเนอร์
พฤติกรรมที่นามาซึ่งความพึงพอใจ พฤติกรรมนั้นมีแนวโน้มเกิดขึ้นอีก
การเสริมแรง
พฤติกรรมที่นามาซึ่งความไม่พึงพอใจ พฤติกรรมนั้นมีแนวโน้มจะลดลง หรือหายไปในที่สุด
การลงโทษ
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก ของ พาฟลอฟ
คือ ทฤษฎีสิ่งเร้าและการตอบสนอแสดงให้เห็นว่าการเรียนรู้ของบุคคลส่งผลต่อการเกิดพฤติกรรม โดยมีความสัมพันธ์ระหว่างการวางเงื่อนไขเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีการตอบสนองทางร่างกาย
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
พฤติกรรมบาบัด หรือการปรับพฤติกรรม มีเทคนิค
การเผชิญเหตุอย่างเป็นระบบ
การบำบัดเชิงลงโทษ
การให้เบี้ยรางวัล
การแรงเสริม
การเป็นแบบอย่าง
ทฤษฎีปัญญานิยม
• ความคิดมีอิทธิพลต่อความรู้สึกและการกระทำของมนุษย์
• ความคิดทางลบ ทำให้เกิดโรคซึมเศร้า
• ความคิดที่ไม่สมเหตุผลทำให้เกิดพฤติกรรมปัญหา
การประยุกต์ใช้
• การบำบัดทางความคิด ไม่ตำหนิตนเอง มองสิ่งที่เป็นจริง สะท้อนพฤติกรรมทางบวก
ทฤษฎีทางชีวภาพการแพทย์
เกี่ยวกับร่างกาย เนื้อเยื่อ เซลล์
เหตุทางกาย หรือการเจ็บป่วยทางกายที่มีผลต่อสุขภาพจิต
องค์ประกอบทางชีววิทยามีผลต่อจิตใจและพฤติกรรม
พบว่า สาเหตุของการเจ็บป่วยทางจิต เกิดจากความผิดปกติที่เกิดจากสมอง อวัยวะ การทำงานของร่างกาย สารสื่อประสาท เนื้อเยื่อ เซลล์ การติดเชื้อ สารเสพติด รวมถึงพันธุกรรม
ทฤษฎีมนุษยนิยม
• ให้ความสำคัญกับการเลือกแบบแผนการดำเนินชีวิตที่สนับสนุนการเจริญเติบโต
• ให้คุณค่ากับคนแบบไม่แยกส่วน เชื่อศักยภาพของคนที่จะเรียนรู้ ทำความเข้าใจ และสามารถเปลี่ยนแปลงตนเอง
ทฤษฎีของ Maslow ( ความต้องการ 5 ขั้น) = ด้านร่างกาย ความปลอดภัย ความรักและเป็นเจ้าของ ความต้องการการยอมรับยกย่อง ความต้องการตระหนักในตนเอง
ทฤษฎีของ Carl Rogers ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง มีเกียรติ ศักดิ์ศรี มีศักยภาพที่จะเรียนรู้ พัฒนาตนเอง เป็นHolistic มีเอกลักษณ์ของตน เข้าใจตนเอง และมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
ทฤษฎีอัตถิภาวะนิยม บุคคลมีอิสรเสรีที่จะเลือกทำ/ไม่ทำ ตัดสินใจ ดำเนินชีวิตของตนเองจัดการปัญหาพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพสูงสุด หากบุคคลรับรู้ว่าตนเองขาดอิสรภาพ หรือถูกคาดหวัง จะเกิดความกดดัน ไม่เป็นตัวของตัวเอง ไม่เชื่อมั่นในตนเอง รู้สึกโดดเดี่ยว ไร้ค่าไม่สามารถมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้
ทฤษฎีการยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ของ Rogers มนุษย์มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี มนุษย์จะใช้ความสามารถของตนเองเพื่อปรับเปลี่ยนตนเองมีเอกลักษณ์ และอัตมโนทัศน์แบบ Holistic (แบบองค์รวม)
การนำทฤษฎีมนุษยนิยมมาใช้ในการพยาบาล
พยาบาลช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองพัฒนาคุณลักษณะของตน
สร้างสัมพันธภาพ จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ป่วยยอมรับตนเอง เข้าใจปัญหาของตนเอง รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดของPeplau
กระบวนการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด การเข้าใจชีวิต และแก้ไขสัมพันธภาพ สร้างความไว้วางใจ ให้ความจริงใจ สร้างการเรียนรู้ใหม่ที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
บทบาทของพยาบาลในสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
สัมพันธภาพ 4 ระยะ
แก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากแหล่งช่วยเหลือ
ระบุปัญหาและความต้องการบริการ
เริ่มต้น
ยุติสัมพันธภาพ
บทบาทของพยาบาลจิตเวช 6 ประการ
คนแปลกหน้า
ผู้ให้ข้อมูลที่จะทำให้ผู้ป่วยค้นพบปัญหาของตนเอง
ผู้ให้คำปรึกษา ให้ผู้ป่วยเล่าระบายความรู้สึกจนเกิดความเข้าใจในตนเอง มีแนวทางการแก้ไขปัญหา
ครู ให้ข้อมูลที่สำคัญในการเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อการบำบัดรักษา
ผู้นำ บริหารจัดการพัฒนาสัมพันธภาพให้เกิดการยอมรับ
ผู้ทดแทน ให้ความช่วยเหลือเพื่อให้เกิดการเติบโตและมีวุฒิภาวะ
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
บุคคลเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในชีวิต มีการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อม มีระบบการปรับตัวของบุคคล
สิ่งนำเข้า = สิ่งเร้า ระดับการปรับตัว
กระบวนการควบคุม = กลไกการควบคุมเกิดควบคู่กับกลไกการรับรู้
การปรับตัว 4ด้าน = ร่างกาย, อัตมโนทัศน์, บทบาทและหน้าที่, การพึ่งพาอาศัย
สิ่งนำออก = ปรับตัวดี มีปัญหาในการปรับตัว
และทั้ง 4 ระบบนี้ จะมีการป้อนกลับ
การนำทฤษฎีมาใช้ในกระบวนการการพยาบาล
• วินิจฉัยปัญหาการปรับตัว
• วางแผนให้เกิดการปรับตัวที่เหมาะสม
• การประเมินพฤติกรรมและสิ่งเร้า
• ปฏิบัติการพยาบาล
• การประเมินผล
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
ความพร่องในการดูแลตนเอง
ระบบการพยาบาล
ด้านสุขภาพ
การนำทฤษฎีมาใช้ในการพยาบาล
แยกแยะความบกพร่องในการดูแลตนเอง
กำหนดการพยาบาลให้ตรงและตอบสนองตามความต้องการของผู้ป่วย
3 อย่าง ทำงานสอดคล้องกัน