Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chronic obstructive pulmonary disease with acute exacerbation with…
Chronic obstructive pulmonary disease with acute exacerbation with respiratory failure.
(โรคปอดอุดกั้นเรื้องรังเฉียบพลัน และภาวะหายใจล้มเหลว)
เกิดจากความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ โดยมีการอุดกั้นของทางเดินหายใจอย่างงถาวร เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภายในหลอดลมหรือในเนื้อปอด ทำให้หลอดลมตีบทางเดินหายใจอย่างถาวร
อาการ
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีอาการเมื่อพยาธิสภาพลุกลามไปมากแล้ว อาการที่พบ ได้แก่ หอบเหนื่อยซึ่งจะเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ไอเรื้อรังหรือมีเสมหะโดยเฉพาะในช่วงเช้า อาการอื่นที่พบได้ คือ แน่นหน้าอก หรือหายใจมีเสียงหวีด
- ระยะต่อมาที่มีการอุดกั้นของหลอดลมมากขึ้น อาจตรวจพบลักษณะของ มีการอักเสบและตีบแคบของหลอดลม (airflow limitation) และ air trapping เช่น , increased chest AP diameter, , diffuse wheeze เป็นต้น
- ในระยะท้ายของโรค อาจตรวจพบลักษณะของหัวใจขวาล้มเหลว (cor pulmonale)
-
-
สาเหตุ
-
-
3.ปัจจัยทางพันธุกรรม
เช่น โรคพร่องสาร alpha-1-antitrypsin (AAT)เป็นเอนไซม์ที่สร้างจากตับที่มีคุณสมบัติยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ทริปซิน ซึ่งเอนไซม์นี้ทำลายเนื้อปอด
-
ระดับความรุนแรงของ COPD
ระดับ 1 ไม่รุนแรง ไม่สามารถสังเกตอาการได้อย่างชัดเจน เป็นอาการทั่วไปที่อาจเกิดได้จากโรคอื่น ๆ แต่จะค่อย ๆ มีอาการรุนแรงขึ้น
ระดับ 2 ปานกลาง อาการของโรคเริ่มสังเกตเห็นได้ เช่น ไอ มีเสมหะมาก หายใจลำบาก การรักษาอาจต้องใช้ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว
ระดับ 3 รุนแรง อาการของโรคเกิดขึ้นถี่มากขึ้น บางครั้งอาจกำเริบฉับพลันและรุนแรงเป็นระยะ ทำให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมปกติได้ลำบาก
ระดับ 4 รุนแรงมาก อาการที่เป็นอยู่รุนแรงจนไม่สามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ หรือหัวใจเกิดความผิดปกติ และอาจมีอาการกำเริบจนเป็นอันตรายถึงชีวิต
การวินิจฉัย
การตรวจด้วย Spirometry ซึ่งเป็นวิธีในการตรวจวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอด รวมถึงประสิทธิภาพของปอด โดยวัดค่าปริมาณอากาศที่ผู้ป่วยสามารถหายใจออกใน 1 วินาที (FEV1) เทียบกับค่าปริมาณของอากาศเมื่อหายใจออกทั้งหมด โดยคิดเป็นเปอร์เซนต์
-
-
-
-
ผู้ป่วยใช้ accessory muscle Chest , AP diameter : Lateral diameter = 1:1
-
-ผู้ป่วยมีอาการไอมีเสมหะ หายใจหอบเหนื่อย
- ฟังปอดมี Wheezing with rhonchi sound both lungs
-
-
ผู้ป่วยได้รับการ x-ray พบ cardiomegaly, left lower lung haziness.
-
เกิดจากการที่ภาวะเป็นกรดจากการหายใจทำให้หลอดเลือดแดงในปอดหดตัว เกิดความดันในบอดสูงขึ้น ทำให้เกิดหัวใจล้มเหลว
-
-
-