Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติในการเคลื่อนไหวจากปัญหาของกระดูก ข้อ เอ็น กล้ามเนื้อ - Coggle…
ความผิดปกติในการเคลื่อนไหวจากปัญหาของกระดูก ข้อ เอ็น กล้ามเนื้อ
หน้าที่หลักของกระดูกคือการค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย การเคลื่อนไหว การสะสมแร่ธาตุและการสร้างเซลล์เม็ดเลือด
หน้าที่หลักของกระดูก
การป้องกันอวัยวะภายในที่สำคัญ
การค้ำจุนโครงร่างของร่างกาย เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่าง ๆ
การผลิตเม็ดเลือด โดยไขกระดูกที่อยู่ภายใน
การเก็บสะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส
Types of bone การจำแนกกระดูก
แบ่งตามความหนาแน่นของเนื้อกระดูก ออกเป็น 2 ชนิด
Spongy (cancellous) bone ลักษณะคล้ายฟองน้ำ ประกอบด้วย bony spicules or trabeculae (ชิ้นกระดูกขนาดเล็กๆ) มีช่องเล็กแทรกอยู่ในชิ้นกระดูกแข็งเล็กที่ต่อเนื่องเป็นร่างแห มักพบกระดูกชนิดนี้ให้เป็นที่อยู่ของไขกระดูก
Compact bone ลักษณะทึบแน่น
แบ่งตามลักษณะรูปร่างที่เห็น ออกเป็น 4 กลุ่ม
Long bones (กระดูกแข็งยาว)
Short bones (กระดูกแข็งสั้น)
Flat bones (กระดูกแข็งแผ่น)
Irregular bone ชิ้นกระดูกแข็งมีลักษณะซับซ้อน เช
ใน Wheater’s functional histology, 2000 แบ่งกระดูกแข็งออกเป็น 2 แบบ
Woven bone กระดูกแข็งที่เจริญไม่เต็มที่
Lamellar bone กระดูกแข็งที่มีแผ่นใยคอลาเจนเรียงตัวขนานกันอย่างเป็นระเบียบ
Bone growth การเจริญของระบบกระดูก ระบบกระดูกพัฒนาจาก 3 แหล่ง
Paraxial mesoderm พัฒนาเป็นกระดูกแกน
(axial skeleton)
Lateral plate mesoderm พัฒนาเป็นกระดูกรยางค์ (appendicular skeleton)
Neural crest cell พัฒนาเป็นกระดูกหน้า
(skeleton of the face)
วิธีการสร้างกระดูกแบ่งเป็น 2 วิธีคือ
Membranous bone formation
เป็นการสร้างกระดูกแข็งจากเนื้อเยื่อ mesenchyme โดยไม่มีกระดูกอ่อนเป็นต้นแบบ การสร้างกระดูกวิธีนี้เกิดที่กระดูกแบน
เช่น กะโหลก(skull)
Endochondral bone formation
เป็นการสร้างกระดูกแข็งจากเนื้อเยื่อ mesenchyme โดยมีกระดูกอ่อนเป็นต้นแบบ การสร้างกระดูกวิธีนี้เกิดที่กระดูกยาว
เช่น กระดูกต้นขา (femur)
Bone composition
1.
Osteoblast
เปรียบเทียบได้กับเซลล์วัยทำงานของกระดูก ทำหน้าที่กระตุ้นการสะสมและจัดเรียงเกลือแร่ต่างๆ
2.
Osteocyte
คือ Osteoblast ที่แก่ตัวขึ้นและถูกหุ้มด้วยเนื้อกระดูกไปแล้ว ดังนั้นตัวมันเองจึงไม่สร้างเนื้อกระดูกใหม่อีกต่อไป แต่มันจะคอยตรวจสอบแรงที่มากระทำต่อกระดูกแล้วไปกระตุ้น Osteoblast ให้สร้างเนื้อกระดูกให้มากขึ้น
3.
Osteoclast
เมื่อมีผู้สร้าง, ผู้รักษาสมดุลแล้ว ต่อ Osteoclast ก็ทำหน้าที่ย่อยสลายเนื้อกระดูก ตามคำสั่งของ Osteocyte
Disease of the bone
osteoporosis
โรคกระดูกพรุนโรคนี้คือภาวะที่มีมวลกระดูกลดน้อยลงเนื่องจากมีการสลายกระดูกเร็วกว่าการสร้างกระดูก มวลกระดูกที่ลดน้อยลงทําให้ความแข็งแรงกระดูกลดลง จนกระทั่งในที่สุดไม่สามารถจะรับน้ำหนักหรือ
สาเหตุการเกิด osteoporosis โรคกระดูกพรุน
เกิดจากกระบวนการสร้างกระดูกใหม่ทดแทนกระดูกเก่าที่เสื่อมสภาพไม่สมดุลกับกระบวนการสลายของกระดูก
ผู้หญิงที่มีการออกกำลังกายน้อย และมีมวลกระดูกต่ำตั้งแต่อายุน้อย เสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน
การรักษาโรคกระดูกพรุน
จะเป็นการปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง ร่วมกับการใช้ยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
Osteopenia
กระดูกบาง เป็นภาวะที่ร่างกายมีความหนาแน่นและมวลของกระดูกน้อยกว่าปกติ เป็นภาวะที่มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และมักพบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป
สาเหตุการเกิด Osteopenia กระดูกบาง
อายุ
เพศ
ฮอร์โมน
กรรมพันธุ์
พฤติกรรมการบริโภค
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
โรคและการเจ็บปวด
การใช้ยาบางชนิด
การรักษาโรคกระดูกบาง
การดูแลสุขภาพและบำรุงกระดูก
การใช้ยาบางชนิดที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสลายกระดูกหรือเพิ่มความหนาแน่นของกระดูก
เพิ่มระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่มีส่วนช่วยในการสร้างกระดูก
Osteomyelitis หรือกระดูกอักเสบ
เป็นภาวะติดเชื้อที่ลุกลามเข้าสู่กระดูก โดยทั่วไปมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุของกระดูกอักเสบ Osteomyelitis
การติดเชื้อทางกระแสเลือด
การติดเชื้อจากแผลเปิด
การติดเชื้อจากเนื้อเยื่อหรืออวัยวะใกล้เคียง
การรักษาโรคกระดูกอักเสบ Osteomyelitis
การใช้ยา
การผ่าตัด เป็นการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหรือเรื้อรัง