Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บริบทของศิลปะในสังคมพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้ (สัปดาห์ที่2), 6310410125…
บริบทของศิลปะในสังคมพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้
(สัปดาห์ที่2)
วัฒนธรรมร่วมราก
ความหมาย
วัฒนธรรมร่วมราก หรือวัฒนธรรมในอุษาคเนย์ หมายถึงภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้(ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์)
พื้นที่ แบ่งเป็น2ส่วน
หมู่เกาะ
แผ่นดินใหญ่
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดสังคมพหุวัฒนธรรม
สภาพทางภูมิศาสตร์
เป็นเส้นทางเดินเรือ ผู้คนจะเคลื่อนย้าย ต้องเลียบฝั่งแหลมมลายู โดยเฉพาะทะเลช่องแคบมะละกา
การติดต่อค้าขาย
เมืองท่าบริเวณแหลมมลายูกลายเป็นแหล่งคัดสรรสินค้า เก็บสินค้า หรือแลกเปลี่ยนสินค้า
การเผยแผ่ทางศาสนา
เดิมเชื่อเรื่องภูติผี เมื่อมีคนภายนอกเข้ามา ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความเชื่อ การเผยแผ่ศาสนา
การอพยพย้ายถิ่น
ย้ายถิ่นเพื่อหนีปัญหาการเมือง
ย้ายถิ่นเพื่อหนีความยากจนในประเทศจีน
ย้ายถิ่นเพื่อประกอบการและขายแรงงาน
ย้ายถิ่นตามคำชักชวน
การขยายอำนาจของต่างชาติ
การแบ่งเส้นพรมแดนของรัฐชาติสมัยใหม่
ทำให้รัฐชาติที่เกิดใหม่คือมาเลเซียและประเทศไทย
ทุนนิยมและกระแสโลกาภิวัตน์
ส่งผลต่อการเคารพท้องถิ่น หลายสังคมศิลปะดั่งเดิมจึงสูญหาย
สังคมพหุวัฒนธรรมในชายแดนใต้
ที่มา
จากการเดินทางสันจรจากหลายเชื้อชาติเข้ามาที่บริเวณแหลมมาละยา จนเกิดเป็นวิถีชีวิตที่มีการผสมผสานกัน ใช้ความเข้าใจอยู่ด้วยกัน เป็นรากฐานของมโนราห์ และหนังตะลุง
เป็นการอาศัยอยู่รวมกันของชาติพันธุ์เดียวกัน แต่ต่างศาสนา ทำให้ต้องผสมผสานความเหมือนและต่าง เพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
6310410125 นางสาวภารดี พรหมยก :star: