Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้สูงอายุเพศหญิง อายุ 74 ปี - Coggle Diagram
ผู้สูงอายุเพศหญิง
อายุ 74 ปี
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2 วิตกกังวล เนื่องจากมีอาการเจ็บตึงบริเวณหน้าอก
ข้อสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "เจ็บตึงหน้าอก ไม่รู้ว่าเพราะอ้วนขึ้น หรือเป็นโรคมะเร็ง"
O : ผู้สูงอายุมีสีหน้าและน้ำเสียงวิตกกังวล
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "เคยเป็นมะเร็งเต้านม ผ่าตัดเต้านมข้างซ้าย"
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้สูงอายุมีสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส
สามารถสาธิตการตรวจเต้านมได้ 80 เปอร์เซ็นต์
กิจกรรมการพยาบาล
3.เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุุระบายความรู้สึกในใจ ให้กําลังใจเสมอ
4.แนะนําให้ผู้ป่วยไปตรวจมะเร็งเต้านม
2.สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
5.แนะนำวิธีผ่อนคลาย เช่น การฟังธรรมะ สวดมนต์ไหว้พระ ฟังเพลงที่ชอบ การฝึกหายใจ เป็นต้น
1.ประเมินความวิตกกังวลโดยการสัมภาษณ์ สังเกตอาการแสดงของสีหน้า
กิจกรรมผู้สูงอายุ
3.ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธี สวดมนต์ ไหว้พระ ฟังธรรมะ เป็นต้น
2.ไปพบแพทย์ เพื่อตรวจมะเร็งเต้านม
1.ระบายความในใจให้กับนิสิตพยาบาล ชั้นปีที่ 3 ได้รับฟัง
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อลดความวิตกกังวล
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 5 เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม เนื่องจากต้องเดินขึ้นบันไดเป็นประจำวันละหลายครั้ง
ข้อสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "ขึ้นบันไดทุกกวัน วัน 10 ครั้ง"
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "ถุงเท้าลื่น ทำให้หกล้ม"
S : เป็นโรคกระดูกพรุน มวลกระดูก - 2.5 ได้รับยาคลายกล้ามเนื้อและแก้ปวด
S : ผู้ป่วยบอกว่า "เวลาเดิน ได้ยินเสียงกระดูกดังกร๊อบแกร๊บ"
S : 1.ผู้สูงอายุบอกว่า "เมื่อถูพื้น ใช้น้ำยาถูพื้น มันลื่น ทำให้หกล้ม"
S : ผู้ป่วยบอกว่า "เคยล้มเนื่องจากบันไดเลื่อน แต่จับราวได้ไว้ทัน"
O : จากการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (FRAT) ได้ค่าคะแนน = 1.5 หมายถึง มีความเสี่ยงระดับ 1
เป้าประสงค์การพยาบาล
เพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
เกณฑ์การประเมิน
2.ไม่มีบาดแผล รอยฟกช้ำ
3.การประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (FRAT) มีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.5-2 คะแนน หมายถึงระดับเสี่ยงระดับ 1
1.ผู้สูงอายุไม่เกิดอุบัติเหตุการหกล้ม
กิจกรรมการพยาบาล
3.แนะนำการออกกําลังกาย เช่น ไทเก๊ก เดินเร็ว เป็นต้น
4.แนะนําการเปลี่ยนอิริยาบถช้า ๆ นับ 1-10 ครั้ง ก่อนที่จะเปลี่ยนแต่ละทํา ไม่ควรกัมหน้าต่ํามากเกินไป
ควรใช้การค่อย ๆ ย่อตัว การยกของไม่ควรกัมหน้าหยิบจับ ควรใช้วิธีการย่อตัว
2.แนะนำให้ผู้สูงอายุแต่งกายด้วยเสื้อผ้าไม่หลวม ยาว รุ่มถ่าม รองเท้าใส่ได้กระชับพอดี ควรเป็นรองเท้าสันเตี้ยและขอบมน พื้นเป็นคอกยางเพื่อเกาะติดพื้นได้ดี ควรเป็นรองเท้าหุ้มสั้น หน้ากว่าเพื่อให้เท้าและนิ้วเท้าเคลื่อนไหวได้ดี
5.แนะนําเรื่องการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียม วิตามิน มีแร่ธาตุครบ ไม่ควรง
อาหารเพราะจะทําให้เหนื่อยเพลีย งคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
1.ประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (FRAT)
6.แนะนำให้ผู้สูงอายุจัดสภาพแวดล้อมที่บ้านให้ปลอดภัย ดังนี้
จัดสภาพแวดล้อมในบ้าน
1.ห้ามใช้ฟอร์นิเจอร์ที่มีมุมแหลม ไม่ใช้พื้นขัดมัน พื้นที่ลื่น ไม่วางของขวางทางเดิน
ไม่ใช้พรมเช็คเท้าที่ขาดและสีเดียวกับพื้น ห้ามขึ้นลงบันไดหรือเดินในที่แสงสว่างไม่เพียงพอ
2.ควรปฏิบัติวางของให้เป็นระเบียบ ติดเทปสีที่สว่างสะดุดตาที่พื้นต่างระดับ ติดรายยึดเกาะในห้องน้ําใช้เตียงที่มีระดับไม่สูงขณะนั่งเท้าเหบพื้นได้พอดี เป็นไปได้มีราวกั้นเตียง
ห้องน้ําควรแยกพื้นที่เปียกและแห้ง โถส้วมเป็นแบบนั่งห้อยขา กระจก กรอบรูป อุปกรณ์ตกแต่ง
บ้านที่สามารถสะท้อนแสง ได้ควรหลีกเสี่ยง เป็นไปได้จัดให้ผู้สูงอายุมีห้องนอนชั้นล่าง
จัดภาพแวดล้อมรอบบ้าน
2.จัดวางของให้เป็นระเบียบ ไม่ขวางทางเดิน
3.มีไฟส่องสว่างเวลากลางคืน หรือตําแหน่งที่มืคของบ้าน
1.ปรับพื้นรอบบ้านไม่ให้มีทางต่างระดับ กรณีมีความมีสัญลักษณ์ รือติดแถบสีสว่างให้เห็นชัดเจนตําแหน่งทางต่างระดับ
กิจกรรมผู้สูงอายุ
3.เปลี่ยนอิริยาบถช้า ๆ นับ 1-10 ครั้ง ก่อนที่จะเปลี่ยนแต่ละทํา ไม่ควรกัมหน้าต่ํามากเกินไป
ควรใช้การค่อย ๆ ย่อตัว การยกของไม่ควรกัมหน้าหยิบจับ ควรใช้วิธีการย่อตัว
4.รับประทานอาหารที่มีแคลเซียม วิตามิน มีแร่ธาตุครบ ไม่ควรง
อาหารเพราะจะทําให้เหนื่อยเพลีย งคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
2.รออกกําลังกาย เช่น ไทเก๊ก เดินเร็ว เป็นต้น
1.แต่งกายด้วยเสื้อผ้าไม่หลวม ยาว รุ่มถ่าม รองเท้าใส่ได้กระชับพอดี ควรเป็นรองเท้าสันเตี้ยและขอบมน พื้นเป็นคอกยางเพื่อเกาะติดพื้นได้ดี ควรเป็นรองเท้าหุ้มสั้น หน้ากว่าเพื่อให้เท้าและนิ้วเท้าเคลื่อนไหวได้ดี
ข้อวินิจฉัยข้อ 4 การนอนหลับไม่มีคุณภาพ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัย
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้สูงอายุใช้เวลานอนหลับน้อยกว่า 30 นาที
2.การประเมินคุณภาพการนอนหลับ PSQI ได้คะแนนรวมน้อยกว่า 5 คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีคุณภาพการนอนหลับดี
กิจกรรมการพยาบาล
2.แนะนําให้ผู้สูงอายุเข้านอน ตื่นนอนให้ตรงเวลา ไม่ควรงีบหลับโดยเฉพาะหลังเวลา 15.00 น. แต่ถ้าง่วงมากงีบหลับกลางวันได้ไม่เกิน 60 นาที
3.แนะนำให้ผู้สูงอายุจัดสภาพแวดล้อม ห้องนอนให้ถูกสุขลักษณะ ให้เงียบสงบ สบาย สะอาด อากาศถ่ายเท แสงสว่างไม่มากเกินไป ควรสลัว จัดอุปกรณ์การนอนให้สะอาค และสามารถรองรับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างพอเหมาะ สวมเสื้อผ้าที่สบายไม่กับหรือรัดแน่น
1.ประเมินคุณภาพการนอนหลับ ด้วยแบบประเมินPSQI
4.แนะนําให้ผู้สูงอายุทําความสะอาคร่างกาย ปากฟันก่อนเข้านอน
5.แนะนําให้ผู้สูงอายุทําจิตใจให้สบายก่อนเข้านอน เช่น การนวดคลายเครียด การฟังดนตรีบำบัดเช่น เสียงดนตรีธรรมชาติ การสวดมนต์หรือทําสมาธิให้สงบ ใช้สุวคนธบำบัดต่อคุณภาพการนอนหลับในผู้สูงอายุ(สายฝน อินศรีชื่นและทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์,2560) เป็นต้น
6.แนะนําให้ผู้สูงอายุถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน และควรมีหม้อนอน กระโถนหรือกระบอกปัสสาวะเพื่อให้สะดวกต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
7.แนะนําให้ผู้สูงอายุดื่มเครื่องดื่มพวกนม โอวัลติน เพราะมี L-typtophan ซึ่งสามารถปลี่ยนเป็นสารสื่อประสาทพวก serotonin และ melatonin ซึ่งสารพวก serotonin เป็นสารที่ช่วยในการทํางานของสมองเกี่ยวกับการนอนหลับและการตื่นให้ทํางานอย่างต่อเนื่อง ส่วนสารmelatomin มีหน้าที่ส่งเสริมการนอนหลับ โดยความคุมวงจรการตื่นและหลับของร่างกาย ตามนาฬิกาชีวิตซึ่งมี 24 ชั่วโมงต่อวัน ดังนั้นอาจจะให้ผู้สูงอายุดื่มนมถั่วเหลืองก่อนนอน จะช่วยให้หลับง่ายขึ้น กรณีดื่มนมวัวแล้วท้องเสีย การดื่มเครื่องดื่มก่อนนอนควรดื่มอย่างน้อย 2 ชั่วโมงก่อนนอบ.
แนะนําให้ผู้สูงอายุงดเครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ
เครื่องดื่มชูกําลัง น้ําอัดลม
แนะนําให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารที่ให้แคลอรี่ อย่างเพียงพอแก่ร่างกาย จะช่วยให้หลับได้ง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่ทําให้เกิดแก๊ซเพราะจะทําให้เกิดความไม่สุขสบายแน่นท้อง
แนะนําให้ผู้สูงอายุอาบน้ําอุ่นภายใน 2 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
แนะนําผู้สูงอายุไม่ควรใช้เวลาในที่นอนมากเกินไป คือมากกว่า 20 นาทีในการพยายาม
นอนให้หลับ ถ้านอนไม่หลับควรลุกจากที่นอนทํากิจกรรมที่ผ่อนคลาย เมื่อเริ่มง่วงจึงเข้านอนใหม่
12.แนะนําผู้สูงอายุไม่ให้ดื่มน้ํามากในตอนเย็นและค่ำ หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์และอาหารที่มีคาเฟอีน เช่นกาแฟ ช็อคโกแลต อย่างน้อย 4 ชั่วโมง เพราะมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ และคาเฟอีนกระตุ้นระบบประสาท
กรณีปฏิบัติตามข้อปฏิบัติข้างต้น แต่ผู้สูงอายุยังนอนไม่หลับ หรือการนอนไม่หลับมีผลต่อสุขภาพ แนะนําให้ผู้สูงอายุพบแพทย์ และรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อให้ผู้สุงอายุได้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ข้อสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า " หลับยาก ใช้เวลา 30 นาทีกว่าจะหลับ "
O : จากการประเมินคุณภาพการนอนหลับ PSQI ได้ 6 คะแนน แปลผลได้ว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพการนอนหลับไม่ดี
กิจกรรมผู้สูงอายุ
1.เข้านอน ตื่นนอนให้ตรงเวลา ไม่ควรงีบหลับโคยเฉพาะหลังเวลา 15.00 น. แต่ถ้าง่วงมากงีบหลับกลางวันได้ไม่เกิน 60 นาที
2.จัดสภาพแวดล้อม ห้องนอนให้ถูกสุขลักษณะ ให้เงียบสงบ สบาย สะอาด อากาศถ่ายเท แสงสว่างไม่มากเกินไป ควรสลัว จัดอุปกรณ์การนอนให้สะอาค และสามารถรองรับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างพอเหมาะ สวมเสื้อผ้าที่สบายไม่กับหรือรัดแน่น
3.ทำความสะอาคร่างกาย ปากฟันก่อนเข้านอน
4.ผู้สูงอายุทําจิตใจให้สบายก่อนเข้านอน เช่น การสวดมนต์หรือทําสมาธิให้สงบ ปราศจากเรื่องกังวล จะทําให้หลับสบายไม่ฝันร้าย
5.แนะนําให้ผู้สูงอายุถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน และควรมีหม้อนอน กระโถนหรือกระบอกปัสสาวะเพื่อให้สะดวกต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
6.ดื่มเครื่องดื่มพวกนม โอวัลติน
7.งดเครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกําลัง น้ําอัดลม
9.อาบน้ําอุ่นภายใน 2 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
8.รับประทานอาหารที่ให้แคลอรี่ อย่างเพียงพอแก่ร่างกาย จะช่วยให้หลับได้ง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่ทําให้เกิดแก๊ซเพราะจะทําให้เกิดความไม่สุขสบายแน่นท้อง
10.ไม่ควรใช้เวลาในที่นอนมากเกินไป คือมากกว่า 20 นาทีในการพยายาม
นอนให้หลับ ถ้านอนไม่หลับควรลุกจากที่นอนทํากิจกรรมที่ผ่อนคลาย เมื่อเริ่มง่วงจึงเข้านอนใหม่
11.ไม่ดื่มน้ํามากในตอนเย็นและคำหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์และอาหารที่มีคาเฟอีน เช่นกาแฟ ช็อคโกแลต อย่างน้อย 4 ชั่วโมง เพราะมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ และคาเฟอีนกระตุ้นระบบประสาท
วิเคราะห์ข้อวินิจฉัย
การนอนหลับ หมายถึง สภาวะที่ไม่รับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการทางสรีระที่ซับซ้อนสอดคล้องกับจังหวะการทำงานและการทำหน้าที่ของร่างกายที่เกิดขึ้นธรรมชาติที่เรียกว่านาฬิกาชีวภาพ(biological clock) การนอนแบบมีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้น การนอนหลับเร็วจะช่วยให้สุขภาพดีสมองสร้างเคมีความสุข เมลาโทนิน(melatonin)ซีโรโทนิน(serotonin)และฮอร์โมนเพศโกสต์ฮอร์โมน(Growth Hormone )รวมถึงเคมีบำรุงต่าง ๆส่งเสริมความจำ ควบคุมความดันโลหิตการลับถึงระยะหลับ ลึกๆจะช่วยให้ร่างกายซ่อมแซมตนเองควบคุมความดันโลหิตหัวใจทำงานปกติส่งเสริมการขับสารพิษออกจากร่างกายส่งเสริมระบบต่าง ๆของร่างกายทำงานมีประสิทธิภาพ
คุณภาพการนอนหลับในผู้สูงอายุ
วงจรการนอนหลับในผู้สูงอายุมีระยะเวลา ในวงจรการนอนหลับที่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับวัยอื่น ดังนี้1)ระยะการเข้าสู่การนอนหลับที่ใช้เวลามากขึ้น จะเกิดในระยะการเข้าสู่การนอนหลับ เกิดการล่าช้าในการเริ่มเข้าสู่วงจรการนอนหลับ และ NREMระยะที่1ทำให้ผู้สูงอายุตื่นง่าย 2)เวลาในวงจร การนอนหลับNREMระยะที่3 ระยะที่4 ลดลง ทำให้ ช่วงเวลาการนอนหลับลึกลดลงนอนหลับแล้วตื่นง่าย ตื่นบ่อยตอนกลางคืนหลายครั้งหลังจากนั้นไม่สามารถ เข้าสู่การนอนหลับได้อีก และระยะREMลดลง ทำให้ ผู้สูงอายุไม่เข้าสู่การนอนหลับลึกและช่วงการฝันทำให้ ตื่นเร็วหรือตื่นเช้ากว่าปกตินอกจากนี้วงจรการนอนหลับ ที่เปลี่ยนแปลงยังส่งผลต่อระยะเวลารวมของการนอน หลับตลอดทั้งคืนลดลง มักพบ การนอนหลับของผู้สูงอายุน้อยกว่า 7 ชั่วโมงต่อวัน ผู้สูงอายุจึงมักมีอาการง่วงนอนตอนกลางวัน
ระดับของฮอร์โมนมีความสัมพันธ์กับ การนอนหลับที่เปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุมีระดับ เมลาโทนินที่ลดลงส่งผลต่อการควบคุมวงจรการนอนหลับ และฮอร์โมนการเจริญเติบโต (growth hormone) ลดลง ที่มีผลต่อการส่งเสริมการนอนหลับการมี ระดับเซโรโทนินต่ำร่างกายจะรู้สึกง่วงนอนในระหว่าง วันมากกว่าตอนกลางคืน นอนไม่หลับ นอนหลับไม่ต่อเนื่อง ความรู้สึกตื่นตอนเช้าไม่สดชื่น เป็นต้น
สรุปจากการเปลี่ยนแปลงข้างต้นทำให้ ส่งผลต่อคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดีในผู้สูงอายุ
กิจกรรมผู้ดูแล
1.ดูแลให้ผู้สูงอายุเข้านอน ตื่นนอนให้ตรงเวลา ไม่ควรงีบหลับโดยเฉพาะหลังเวลา 15.00 น. แต่ถ้าง่วงมากงีบหลับกลางวันได้ไม่เกิน 60 นาที
2.จัดสภาพแวดล้อมห้องนอนให้ถูกสุขลักษณะ ให้เงียบสงบ สบาย สะอาด อากาศถ่ายเท แสงสว่างไม่มากเกินไป ควรสลัว จัดอุปกรณ์การนอนให้สะอาด และสามารถรองรับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างพอเหมาะ สวมเสื้อผ้าที่สบายไม่กับหรือรัดแน่น
3.ดูแลทำความสะอาคร่างกาย ปากฟันก่อนเข้านอน
4.ดูแลและแนะนําให้ผู้สูงอายุถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน และควรมีหม้อนอน กระโถนหรือกระบอกปัสสาวะเพื่อให้สะดวกต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
5.ดูแลให้ดื่มเครื่องดื่มพวกนม โอวัลติน
6.ดูแลให้งดเครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกําลัง น้ําอัดลม
7.รับประทานอาหารที่ให้แคลอรี่ อย่างเพียงพอแก่ร่างกาย จะช่วยให้หลับได้ง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่ทําให้เกิดแก๊ซเพราะจะทําให้เกิดความไม่สุขสบายแน่นท้อง
8.ดูแลให้ผู้สูงอายุอาบน้ําอุ่นภายใน 2 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
9.ดูแลไม่ให้ผู้สูงอายุดื่มน้ํามากในตอนเย็นและค่ํา หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์และอาหารที่มีคาเฟอีน เช่นกาแฟ ช็อคโกแลต อย่างน้อย 4 ชั่วโมง เพราะมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ และคาเฟอีนกระตุ้นระบบประสาท
การประเมินผล
06/10/2564
ผู้สูงอายุยังใช้เวลานอนหลับ 30 นาที
และจากการประเมินคุณภาพการนอนหลับ PSQI ได้คะแนนรวมมากกว่า 5 คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีคุณภาพการนอนหลับไมดี
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 6 วิตกกังวล เนื่องจากน้ำหนักเพิ่มขึ้น
เป้าประสงค์การพยาบาล
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้สูงอายุ
เกณฑ์การประเมิน
1.สีหน้ายิ้มแย้ม แจ่มใส
2.ผู้สูงอายุคำนวณค่า BMI ของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ข้อสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "ใส่เสื้อผ้าแล้วรู้สึกอึดอัด"
O : BMI = 22.19 แปลผลคือสมส่วน :
S : ผู้สูงอายุบอกว่า " น้ำหนักขึ้น 2 กิโลกรัม"
O : จาการประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)
1.คะแนนการกรองได้ 12 คะแนน
3.คะแนนรวมการประเมินทั้งหมด 25 คะแนน หมายถึง มีภาวะโภชนาการปกติ
2.ประเมินภาวะโภชนาการ 13 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
3.รับฟังผู้สูงอายุระบายความรู้สึก
2.ประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)ของผู้สูงอายุ
5.แนะนำและให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารแก่ผู้สูงอายุ ดังนี้
3.แนะนำการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุ ดังนี้
แนะนําให้ผู้สูงอายุใส่รองเท้าที่เหมาะสมสําหรับการออกกําลังกายแต่ละชนิด ใส่เสื้อผ้าที่ช่วยให้การเคลื่อนไหวได้ง่ายและระบายเหงื่อได้ดี
แนะนำให้ออกกําลังกายตามหลัก FITT
1.แนะนํากิจกรรมออกกําลังกายที่เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุ โดยเปิดโอกาสให้ผู้สูงได้เลือกกิจกรรมที่ชอบ มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และไม่ขัดต่อสุขภาพ เช่น
1) การเดินเร็ว ผู้สูงอายุควรเดินให้เร็วเพื่อให้หัวใจมีการเต้นเพิ่มขึ้น และแกว่งแขนเบา ๆ ไปมา เพื่อบริหารกล้ามเนื้อส่วนอื่น ๆ หากเดินเร็วมากไม่ได้ ต้องเพิ่มเวลาในการเดินให้มากขึ้น
2) การฝึกกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนหรือเล่นกล้าม
แนะนําให้ผู้สูงอายุ ออกกําลังกายอย่างช้า ๆ โดยไม่มีการแข่งขัน และมีช่วงพักบ้างพอสมควร
แนะนําให้ผู้สูงอายุพักผ่อนให้หายเหนื่อยหลังจากออกกําลังกาย เพื่อให้ร่างกายปรับเข้าสู่สภาวะปกติ ไม่ควรนอน ดื่มน้ําเย็น หรืออาบน้ําทันที
3.ผู้สูงอายุควรลดการรับประทานอาหารจําพวกคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ําตาลต่าง ๆ และลดระดับไขมันในเลือด อาหารคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ได้แก่ แป้ง เผือก มัน ข้าวโพด ลูกเดือย และข้าว ข้าวที่จะมีใยอาหารมาก คือ ข้าวซ้อมมือ เป็นต้น
4.ไขมัน ผู้สูงอายุควร ได้พลังงานจากไขมันไม่ควรเกินร้อยละ25-30 ของปริมาณพลังงานที่ควรได้รับใน1วันน้ํามันที่ใช้ควรเป็นน้ํามันพืชเแทนน้ํามันสัตว์เพราะเป็นไขมันไม่อิ่มตัวปริมาณน้ํามันพืชที่ผู้สูงอายุควรได้รับประมาณ2-3ช้อนโต๊ะต่อวันในการประกอบอาหารต่าง ๆ
5.ผู้สูงอายุควรรับประทานผัก ผลไม้ทุกวัน เพื่อการป้องกันมะเร็ง โรคหัวใจ และต้อกระจก วิตามินซีมีมากในผลไม้ตระกูลส้ม มะละกอ สับปะรด พริกหวานุ กะหล่ําปลี เป็นต้น
6.แร่ธาตุ ผู้สูงอายุควรได้รับแคลเซียมวันละ 1,200 มิลลิกรัมต่อวัน ซึ่งอาหารที่มีแคลเซียมและร่างกาขดูดซึมได้ดี คือ นม ในน้ำนมยังมีโปรตีน วิตามินดี วิตามินเอ ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม
2.ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีนมากกว่าวัยหนุ่มสาว ประมาณ 0.88 - 1 กรัม ต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม เช่น เนื้อล้วนไม่ติดมัน ปลา ไข่ นม ส่วนโปรตีนจากพืชที่มีคุณภาพ
1.ความต้องการพลังงาน ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลงเป็นลําดับ เนื่องจากการทํางานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง การเผาผลาญในร่างกายลดลง การเคลื่อนไหวช้าลง และการทํากิจกรรมต่าง ๆ ลดลง ฉะนั้นจึงต้องจัดอาหารให้มีพลังงานลดลงน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว แต่ไม่ควรน้อยกว่า 1,200 กิโลแคลอรี่/วัน.
1.แนะนําให้ผู้สูงอายุมีการรับประทานอาหาร โดยแบ่งมื้ออาหารเป็น 4-5 มื้อต่อวัน เพิ่มมื้อสายและบ่าย ให้มื้อกลางวันเป็นอาหารหลัก เพื่อช่วยลดปัญหาแน่นท้องหลังอาหาร
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
4.สอนวิธีการคํานวนค่าดัชนีมวลกายให้กับผู้สูงอายุ
กิจกรรมผุู้สูงอายุ
3.จัดอาหารเหมาะสมต่อความต้องการพลังงานและสารอาหารของตนเอง
4.ออกกําลังกายตามหลัก FITT
2.คำนวณค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
5.พักผ่อนให้หายเหนื่อยหลังจากออกกําลังกาย เพื่อให้ร่างกายปรับเข้าสู่สภาวะปกติ ไม่ควรนอน ดื่มน้ำเย็น หรืออาบน้ำทันที
1.ระบายความรู้สึกให้กับนิสิตพยาบาล ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ฟัง
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 3 เสี่ยงต่อการสำลัก เนื่องจากขาดความรู้ในการป้องกัน
เป้าประสงค์การพยาบาล
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้สูงอายุ
เกณฑ์การประเมิน
1.สีหน้ายิ้มแย้ม แจ่มใส
2.ผู้สูงอายุคำนวณค่า BMI ของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ข้อสนับสนุน
O : BMI = 22.19 แปลผลคือสมส่วน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า " น้ำหนักขึ้น 2 กิโลกรัม"
O : จาการประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)
2.ประเมินภาวะโภชนาการ 13 คะแนน
3.คะแนนรวมการประเมินทั้งหมด 25 คะแนน หมายถึง มีภาวะโภชนาการปกติ
1.คะแนนการกรองได้ 12 คะแนน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "ใส่เสื้อผ้าแล้วรู้สึกอึดอัด"
กิจกรรมการพยาบาล
3.รับฟังผู้สูงอายุระบายความรู้สึก
2.ประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)ของผู้สูงอายุ
5.แนะนำและให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารแก่ผู้สูงอายุ ดังนี้
3.แนะนำการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุ ดังนี้
แนะนําให้ผู้สูงอายุใส่รองเท้าที่เหมาะสมสําหรับการออกกําลังกายแต่ละชนิด ใส่เสื้อผ้าที่ช่วยให้การเคลื่อนไหวได้ง่ายและระบายเหงื่อได้ดี
แนะนำให้ออกกําลังกายตามหลัก FITT
1.แนะนํากิจกรรมออกกําลังกายที่เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุ โดยเปิดโอกาสให้ผู้สูงได้เลือกกิจกรรมที่ชอบ มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และไม่ขัดต่อสุขภาพ เช่น
1) การเดินเร็ว ผู้สูงอายุควรเดินให้เร็วเพื่อให้หัวใจมีการเต้นเพิ่มขึ้น และแกว่งแขนเบา ๆ ไปมา เพื่อบริหารกล้ามเนื้อส่วนอื่น ๆ หากเดินเร็วมากไม่ได้ ต้องเพิ่มเวลาในการเดินให้มากขึ้น
2) การฝึกกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนหรือเล่นกล้าม
แนะนําให้ผู้สูงอายุ ออกกําลังกายอย่างช้า ๆ โดยไม่มีการแข่งขัน และมีช่วงพักบ้างพอสมควร
แนะนําให้ผู้สูงอายุพักผ่อนให้หายเหนื่อยหลังจากออกกําลังกาย เพื่อให้ร่างกายปรับเข้าสู่สภาวะปกติ ไม่ควรนอน ดื่มน้ําเย็น หรืออาบน้ําทันที
3.ผู้สูงอายุควรลดการรับประทานอาหารจําพวกคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ําตาลต่าง ๆ และลดระดับไขมันในเลือด อาหารคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ได้แก่ แป้ง เผือก มัน ข้าวโพด ลูกเดือย และข้าว ข้าวที่จะมีใยอาหารมาก คือ ข้าวซ้อมมือ เป็นต้น
4.ไขมัน ผู้สูงอายุควร ได้พลังงานจากไขมันไม่ควรเกินร้อยละ 25 - 30 ของปริมาณพลังงานที่ควรได้รับใน 1 วัน น้ํามันที่ใช้ควรเป็นน้ํามันพืชเแทนน้ํามันสัตว์เพราะเป็นไขมันไม่อิ่มตัวปริมาณน้ํามันพืชที่ผู้สูงอายุควรได้รับประมาณ 2 - 3 ช้อนโต๊ะต่อวันในการประกอบอาหารต่าง ๆ
5.ผู้สูงอายุควรรับประทานผัก ผลไม้ทุกวัน เพื่อการป้องกันมะเร็ง โรคหัวใจ และต้อกระจก วิตามินซีมีมากในผลไม้ตระกูลส้ม มะละกอ สับปะรด พริกหวานุ กะหล่ําปลี เป็นต้น
6.แร่ธาตุ ผู้สูงอายุควรได้รับแคลเซียมวันละ 1,200 มิลลิกรัมต่อวัน ซึ่งอาหารที่มีแคลเซียมและร่างกาขดูดซึมได้ดี คือ นม ในน้ำนมยังมีโปรตีน วิตามินดี วิตามินเอ ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม
2.ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีนมากกว่าวัยหนุ่มสาว ประมาณ 0.88 - 1 กรัม ต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม เช่น เนื้อล้วนไม่ติดมัน ปลา ไข่ นม ส่วนโปรตีนจากพืชที่มีคุณภาพ
1.ความต้องการพลังงาน ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลงเป็นลําดับ เนื่องจากการทํางานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง การเผาผลาญในร่างกายลดลง การเคลื่อนไหวช้าลง และการทํากิจกรรมต่าง ๆ ลดลง ฉะนั้นจึงต้องจัดอาหารให้มีพลังงานลดลงน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว แต่ไม่ควรน้อยกว่า 1,200 กิโลแคลอรี่/วัน.
1.แนะนําให้ผู้สูงอายุมีการรับประทานอาหาร โดยแบ่งมื้ออาหารเป็น 4-5 มื้อต่อวัน เพิ่มมื้อสายและบ่าย ให้มื้อกลางวันเป็นอาหารหลัก เพื่อช่วยลดปัญหาแน่นท้องหลังอาหาร
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
4.สอนวิธีการคํานวนค่าดัชนีมวลกายให้กับผู้สูงอายุ
กิจกรรมผุู้สูงอายุ
3.จัดอาหารเหมาะสมต่อความต้องการพลังงานและสารอาหารของตนเอง
4.ออกกําลังกายตามหลัก FITT
2.คำนวณค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
5.พักผ่อนให้หายเหนื่อยหลังจากออกกําลังกาย เพื่อให้ร่างกายปรับเข้าสู่สภาวะปกติ ไม่ควรนอน ดื่มน้ำเย็น หรืออาบน้ำทันที
1.ระบายความรู้สึกให้กับนิสิตพยาบาล ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ฟัง
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1 มีโอเกาสเกิดมะเร็งเต้านมซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัว
เป้าประสงค์การพยาบาล
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้สูงอายุ
เกณฑ์การประเมิน
1.สีหน้ายิ้มแย้ม แจ่มใส
2.ผู้สูงอายุคำนวณค่า BMI ของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ข้อสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า "ใส่เสื้อผ้าแล้วรู้สึกอึดอัด"
O : BMI = 22.19 แปลผลคือสมส่วน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า " น้ำหนักขึ้น 2 กิโลกรัม"
O : จาการประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)
2.ประเมินภาวะโภชนาการ 13 คะแนน
3.คะแนนรวมการประเมินทั้งหมด 25 คะแนน หมายถึง มีภาวะโภชนาการปกติ
1.คะแนนการกรองได้ 12 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
3.รับฟังผู้สูงอายุระบายความรู้สึก
2.ประเมินภาวะโภชนาการ (MNA)ของผู้สูงอายุ
5.แนะนำและให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารแก่ผู้สูงอายุ ดังนี้
3.แนะนำการออกกำลังกายให้แก่ผู้สูงอายุ ดังนี้
แนะนําให้ผู้สูงอายุใส่รองเท้าที่เหมาะสมสําหรับการออกกําลังกายแต่ละชนิด ใส่เสื้อผ้าที่ช่วยให้การเคลื่อนไหวได้ง่ายและระบายเหงื่อได้ดี
แนะนำให้ออกกําลังกายตามหลัก FITT
1.แนะนํากิจกรรมออกกําลังกายที่เหมาะสมสําหรับผู้สูงอายุ โดยเปิดโอกาสให้ผู้สูงได้เลือกกิจกรรมที่ชอบ มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และไม่ขัดต่อสุขภาพ เช่น
การเดินเร็ว ผู้สูงอายุควรเดินให้เร็วเพื่อให้หัวใจมีการเต้นเพิ่มขึ้น และแกว่งแขนเบา ๆ ไปมา เพื่อบริหารกล้ามเนื้อส่วนอื่น ๆ หากเดินเร็วมากไม่ได้ ต้องเพิ่มเวลาในการเดินให้มากขึ้น
การฝึกกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนหรือเล่นกล้าม
แนะนําให้ผู้สูงอายุ ออกกําลังกายอย่างช้า ๆ โดยไม่มีการแข่งขัน และมีช่วงพักบ้างพอสมควร
แนะนําให้ผู้สูงอายุพักผ่อนให้หายเหนื่อยหลังจากออกกําลังกาย เพื่อให้ร่างกายปรับเข้าสู่สภาวะปกติ ไม่ควรนอน ดื่มน้ําเย็น หรืออาบน้ําทันที
2.แนะนำจัดอาหารให้เพียงพอกับความต้องการพลังงานและสารอาหารที่ผู้สูงอายุควร ได้รับต่อวัน ดังนี้
3.ผู้สูงอายุควรลดการรับประทานอาหารจําพวกคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ําตาลต่าง ๆ และลดระดับไขมันในเลือด อาหารคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน ได้แก่ แป้ง เผือก มัน ข้าวโพด ลูกเดือย และข้าว ข้าวที่จะมีใยอาหารมาก คือ ข้าวซ้อมมือ เป็นต้น
4.ไขมัน ผู้สูงอายุควร ได้พลังงานจากไขมันไม่ควรเกินร้อยละ 25 - 30 ของปริมาณพลังงานที่ควรได้รับใน 1 วัน น้ํามันที่ใช้ควรเป็นน้ํามันพืชเแทนน้ํามันสัตว์เพราะเป็นไขมันไม่อิ่มตัวปริมาณน้ํามันพืชที่ผู้สูงอายุควรได้รับประมาณ 2 - 3 ช้อนโต๊ะต่อวันในการประกอบอาหารต่าง ๆ
5.ผู้สูงอายุควรรับประทานผัก ผลไม้ทุกวัน เพื่อการป้องกันมะเร็ง โรคหัวใจ และต้อกระจก วิตามินซีมีมากในผลไม้ตระกูลส้ม มะละกอ สับปะรด พริกหวานุ กะหล่ําปลี เป็นต้น
6.แร่ธาตุ ผู้สูงอายุควรได้รับแคลเซียมวันละ 1,200 มิลลิกรัมต่อวัน ซึ่งอาหารที่มีแคลเซียมและร่างกาขดูดซึมได้ดี คือ นม ในน้ำนมยังมีโปรตีน วิตามินดี วิตามินเอ ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม
2.ผู้สูงอายุควรได้รับโปรตีนมากกว่าวัยหนุ่มสาว ประมาณ 0.88 - 1 กรัม ต่อน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม เช่น เนื้อล้วนไม่ติดมัน ปลา ไข่ นม ส่วนโปรตีนจากพืชที่มีคุณภาพ
1.ความต้องการพลังงาน ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลงเป็นลําดับ เนื่องจากการทํางานของอวัยวะต่าง ๆ ลดลง การเผาผลาญในร่างกายลดลง การเคลื่อนไหวช้าลง และการทํากิจกรรมต่าง ๆ ลดลง ฉะนั้นจึงต้องจัดอาหารให้มีพลังงานลดลงน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว แต่ไม่ควรน้อยกว่า 1,200 กิโลแคลอรี่/วัน.
1.แนะนําให้ผู้สูงอายุมีการรับประทานอาหาร โดยแบ่งมื้ออาหารเป็น 4-5 มื้อต่อวัน เพิ่มมื้อสายและบ่าย ให้มื้อกลางวันเป็นอาหารหลัก เพื่อช่วยลดปัญหาแน่นท้องหลังอาหาร
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
4.สอนวิธีการคํานวนค่าดัชนีมวลกายให้กับผู้สูงอายุ
กิจกรรมผู้สูงอายุ
3.จัดอาหารเหมาะสมต่อความต้องการพลังงานและสารอาหารของตนเอง
4.ออกกําลังกายตามหลัก FITT
2.คำนวณค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
5.พักผ่อนให้หายเหนื่อยหลังจากออกกําลังกาย เพื่อให้ร่างกายปรับเข้าสู่สภาวะปกติ ไม่ควรนอน ดื่มน้ำเย็น หรืออาบน้ำทันที
1.ระบายความรู้สึกให้กับนิสิตพยาบาล ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ฟัง
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้สูงอายุ เพศหญิง อายุ 74 ปี สถานภาพ สมรส สัญชาติไทย เชื้อชาติไทย ศาสนาพุทธ อาชีพ เกษียณอายุข้าราชการ ระดับการศึกษา ปริญญาโท รายได้ 30,000 บาทต่อเดือน ภูมิลำเนาเดิม อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 17 ซอย 14 ตำบลแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20131
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
โรคประจำตัวและการรักษา
โรคกระดูกพรุนและไขมันในเลือดสูง เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา รับประทานยาเป็นประจำ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เคยรักษาไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A ที่โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา
เคยเป็นมะเร็งและผ่าตัดเต้านมซ้ายที่ สถาบันมะเร็งแห่งชาติในกรุงเทพมหานคร รักษาด้วยให้เคมีบำบัดเดือนละ 1 เข็ม
เคยผ่าตัดทำหมัน
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
ผ
จำนวนสมาชิกในครอบครัว 2 คน
หัวหน้าครอบครัวคือ สามี
สัพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว มีสัมพันธภาพที่ดี รักใคร่ ช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน
รายได้เฉลี่ยนของครอบครัว 50,000 บาท แหล่งรายได้ เงินบำนาญ
สิ่งแวดล้อมในบ้าน
เป็นบ้าน2ชั้น อากาศถ่ายเทสะดวก บ้านแบ่งห้องเป็นสัดส่วน ภายนอกบ้านมีเสียงมอเตอร์ไซต์เสียงดัง
มีสิ่งอำนวยความสะดวกภายในบ้าน
ลักษณะของส้วมที่ใช้ เป็นส้วมนั่งชักโครกทั้ง3ห้องน้ำ ใช้ห้องน้ำคนละห้อง
น้ำดื่ม จะมีเครื่องกรองและนำมาต้มดื่ม
น้ำใช้ทั่วไป จะใช้น้ำประปา
สามีจะเป็นคนเก็บกวาดขยะ นำใส่ถุงมัดปากถุวและนำไปทิ้งถังขยะหน้าบ้าน
ไม่ได้เลี้ยงสัตว์
สถานที่ตั้งที่อยู่อาศัย อยู่ในตำบลแสนสุข หน้ามหาวิทยาลัยบูรพา หลังห้างแหลมทอง ใกล้โรงพยาบาลม.บูรพา และใกล้กับทะเล
การคมนาคม ขับรถยนต์ด้วยตนเอง
ลักษณะชุมชน
จำนวนประชากร ไม่ทราบ คน จำนวนครัวเรือน ไม่ทราบ อาชีพหลัก ไม่ทราบ
สถานบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในชุมชน มีการร้องเพลงเพื่อหารายได้ซื้อเครื่องล้างไตให้กับโรงพยาบาล
สภาพเศรษฐกิจ ไม่ทราบ
ศาสนาและความเชื่อ ศาสนาพุทธ
ประเพณี วัฒนธรรม ไม่ทราบ
ข้อมูลเกี่ยวกับแบบแผนสุขภาพ
แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
6.1การได้ยิน
ปกติ
6.2 การมองเห็น
สายตายาว
6.3 การรับสัมผัส/ความสุขสบาย
รับรู้สัมผัส ร้อน เย็น ได้ปกติ
6.4 ความจำ
ระยะยาวดี ระยะสั้น ลงลืมบ้างครั้ง แต่ลืมไม่สนิท ต้องหาให้ได้ว่าลืมอะไร
ผลการประเมินสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย MMSE – Thai 2002 ในผู้สูงอายุ
ได้ 24 คะแนน หมายถึง ไม่มีความเสี่ยงของภาวะสมองเสื่อม
ผลการประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depress Scale: TGDS)
ได้ 11 คะแนนแนน ไม่มีภาวะซึมเศร้า
ผลการประเมินความปวด (Visual Analogue Scale, VAS) / (Visual Analogue Scale, VAS)
ได้ 1.5 คะแนน หมายถึง ความเสี่ยงระดับ1
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
รู้สึกต่อตนเองด้านร่างกายคืออ้วนขึ้น
รู้สึกต่อตนเองในด้านจิตใจคือกังวลเรื่องน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น
รู้สึกว่าร่างกายแข็งแรง กินได้ นอนหลับ
วิธีการเผชิญและแก้ไขคื
อ ออกกำลังกายเดินรอบบ้าน3-4รอบ
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
มีบทบาทคือเป็นแม่บ้าน ทำความสะอาดบ้าน ทำอาหารรับประทานเองกับสามี
ภายในครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน มีลูกคอยดูแลอยู่ห่างๆ
แบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลับ
นอนหลับ 8 ชั่วโมง
มีปัญหาหลับยาก ใช้เวลาหลับประมาณ30นาที
การปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ ไหว้พระสวดมนต์ก่อนนอน
ผลการประเมินตามแบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ (PSQI)
6 หมายถึง ผู้สูงอายุมีคุณภาพการนอนหลับไม่ดี
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลัง
4.1 ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน
ทำงานบ้าน ถูบ้าน ทำับข้าวรับประทานเอง
4.2 พฤติกรรมการออกกำลังกาย
ออกกำลังกาย เช้าเย็น : เดินหน้าบ้าน ยืดแขนและขา เล่นฮูล่าฮูป เดินขึ้นและลงบันได
ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 2 วัน เดินวนครั้งละ 3-4 รอบ
ผลการประเมินตามแบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติ (Barthel ADL Index)
ได้ 20 คะแนน หมายถึง กลุ่มติดสังคม
ผลการประเมินตามแบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติดัชนีจุฬาเอดีแอล (Chula ADL Index)
ได้ 9 คะแนน หมายถึงความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมาก
ผลการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน
ได้ 1.5 คะแนน หมายถึง ความเสี่ยงระดับ1
ผลการประเมินความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับ (Braden scale)
ได้ 23 คะแนน หมายถึง ไม่มีความเสี่ยง
แบบแผนเพศสัมพันธุ์
มีลูก 2 คน
ทำหมันแล้ว
เคยเป็นมะเร็งเต้านม ข้างซ้าย ผ่าตัดแล้ว
ผู้ป่วยปฏิเสธปัญหาเกี่ยวกับอวัยวะเพศ
หมดประจำเดือนแล้ว ประจำเดือนครั้งสุดท้ายประมาณอายุ 40 เนื่องจากมีการทำคีโม
แบบแผนการขับถ่าย
3.1 การขับถ่ายอุจจาระ (จำนวนครั้ง/วัน ลักษณะ)
อุจจาระประมาณ 1 -2 ครั้ง/ วัน ลักษณะเป็นก้อนสีเหลือง เขียว ไม่มีอาการท้องผูก ไม่มีอาการถ่ายลำบาก
3.2 การขับถ่ายปัสสาวะ (จำนวนครั้ง /วัน สี ปริมาณ)
ปัสสาวะวันละประมาณ 4-5 ครั้ง กลางวัน 3-4 ครั้ง กลางวัน 1-2 ครั้ง ไม่มีอาการแสบขัด ไมมีอาการปัสสาวะไม่สุด ไม่มีอาการกลั่นปัสสาวะไม่อยู่
ผลการประเมินแบบประเมินภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ
ไม่มีการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ผลการประเมินตามแบบประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอาการท้องผูกของผู้สูงอายุ
ได้ 14 คะแนน หมายถึง เสี่ยงต่อการเกิดท้องผูกระดับน้อย
แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
11.1 การปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
ชอบทำบุญ ใส่บาตร
11.2 สิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
หลักพระพุทธศาสนา
2. แบบแผนอาหารและการเผาผลาญอาหาร
2.1 พฤติกรรมการรับประทานอาหาร (ชนิดและปริมาณ)
รับประทานอาหารตรงตามเวลา ครบ 3 มื้อ ทานข้าวมื้อละ 1 ทัพพี ชอบทานน้ำพริกมะขามผักต้ม ปลากระพงทอด ไข่ไก่มื้อละ 2 ใบ ไม่รับประทานอาการรสจัด ไม่รับปรัทานอาหารหวาน ไม่รับประทานผงชูรส มีการทานผักและผลไม้ เช่น แตงโม ส้ม ชอบรับประทานถั่ว ธัญพืชต่างๆ นมร่วมด้วย วันละ 2 เช้าเย็น มีการดื่มรังนกเมื่ออ่อนเพลียบางครั้ง
2.3 ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร
มีการเบื่ออาหาร แต่ผู้สูงอายุได้มีการแก้ไขโดยการเปลี่ยนเมนูอาหาร
ผลการประเมินตามแบบประเมินภาวะโภชนาการ (Mini Nutritional Assessment: MNA)
ผลการตรวจร่างกายและซักประวัติระบบทางเดินอาหาร
น้ำหนัก 54 kg. ส่วนสูง 153 cm. BMI = 22.19
2.2 การดื่มน้ำดื่มน้ำ
เป็นน้ำอุ่นวันละ 2 ลิตรต่อวัน
แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
10.2 วิธีการเผชิญและแก้ไขความเครียด
ฟังเพลง ทบทวนกับตนเอง
10.1 ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด
ไม่มีความเครียด
10.3 บุคคลที่คอยให้ความช่วยเหลือ
สามี แต่ส่วนมากจะแก้ปัญหาด้วยตนเอง
ผลการประเมินตามแบบประเมินความเครียดกรมสุขภาพจิต (ST-5)
ได้ 0 คะแนน หมายถึง มีระดับความเครียดน้อย
แบบแผนการรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
รับรู้ว่าตนเองมีโรคประจำตัวคือโรคกระดูกพรุน ไขมันในเลือดสูง รับประทานยาสม่ำเสมอและมีอาการคันเมื่อมีเหงื่อออกจากโดยจะซื้อยามาทาเอง
ตรวจร่างกายเป็นประจำทุกปี ครั้งล่าสุดเดือนเมษายน
เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ และวัคซีนโควิด 19
ปฏิเสธการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ และการใช้สารเสพติด
ดูแลเมื่อเจ็บป่วยดี เมื่อเป็นหวัด จะให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ใส่ผ้าพันคอ เมื่อเกิดอุบัติเหตุเล็กน้อยก็จะไปโรงพยาบาลทันที
รับประทานสมุนไพร มีกระชายขาว ฟ้าทลายโจร