Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาปฏิชีวนะและยาต้านจุลชีพ - Coggle Diagram
ยาปฏิชีวนะและยาต้านจุลชีพ
ยาต้านจุลชีพ (ANTIBIOTIC)
กลุ่ม Tetracyclinestext
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับไรโบโซมหน่วยย่อย 30s ของแบคทีเรีย
ทำให้ปิดกั้นไม่ให้ aminocyl tRNA มาจับกับ acceptor site
ยามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (bacteriostatic)
ยาสะสมในเซลล์แบคทีเรียได้มากกว่าเซลล์ของคน ทำให้มีพิษเฉพาะต่อแบคทีเรีย
ยามีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวก หรือแกรมลบ
เภสัชจลนศาสตร์
ยาถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหารเมื่อท้องว่าง
ดูดซึมน้อยลงเมื่อให้ร่วมกับอาหารพวกนม ธาตุเหล็ก แคลเซียม แมกนีเซียม ยาลดกรดในกระเพาะ (antacid)
ควรกินยาตอนท้องว่าง ยกเว้น doxycycline และ minocycline ซึ่ง
อาหารไม่มีผลต่อการดูดซึม
ยากระจายตัวได้ดีในร่างกาย แต่ไม่ซึมผ่านเข้าสมองยกเว้น minocycline
ยา tetracyclines ถูกเมแทบอลิซึมโดยตับ แล้วขับออกทางไต
ประโยชน์
เป็นยาตัวเลือกอันดับ 1 (first-line drug) ในการรักษาการติดเชื้อ Rickettsia
ใช้รักษา syndrome of inappropriate secretion of antidiuretic hormone(SIADH)
ผลข้างเคียง
ระบบกระดูกและฟัน
ในเด็กอายุตํากว่า 8 ปี ยา tetracyclines จะสะสมในกระดูกและฟัน
ทําให้ฟันเหลือง และมีขนาดเล็ก
ในเด็ก พบ tooth discoloration and hypoplasia
กดการเจริญเติบโตของเด็ก (growth suppression)
ระบบทางเดินอาหาร
ทําให้คลื่นไส้อาเจียน อาจเกิด pseudomembranous colitis
เป็นอันตรายถึงชีวิตแต่พบไม่บ่อย
พิษต่อไต
ทําให้เกิด Fanconi’s syndrome มีอาการคลื่นไส้
ปัสสาวะบ่อย (polyuria)
อาเจียน
หิวนําบ่อย (polydipsia)
มีโปรตีนในปัสสาวะ(proteinuria)
เกิดการตายของเซลล์ตับ (necrosis) โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคตับอยู่ก่อนแล้ว และสตรีมีครรภ์
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ tetracycline ในสตรีมีครรภ์
สตรีที่กําลังให้นมบุตร
เด็กอายุน้อยกว่า 8 ปี
กลุ่ม Spectinomycin
เป็นยาปฏิชีวนะ aminocyclitol ที่มีโครงสร้างคล้าย aminoglycoside
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับไรโบโซมหน่วยย่อย 30s
ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนในแบคทีเรีย
เป็นยาที่มีขอบเขตแคบมาก ครอบคลุมเฉพาะ Neisseria
ประโยชน์
เป็นยาฉีดเข้ากล้าม (IM) ใช้เป็นยารอง (alterative drug) ในการรักษาการติดเชื้อNeisseria gonorrhoeae ในผู้ป่วยที่แพ้ceftriaxone หรือเชื้อดังกล่าวดื้อต่อยาผลข้างเคียง
ปวดบริเวณที่ฉีด อาจมีไข้และคลื่นไส้
กลุ่ม Chloramphenicol
ยามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย (bacteriostatic)
มีขอบเขตการครอบคลุมแบคทีเรียกว้าง (broad spectrum)
จำกัดเฉพาะการติดเชื้อที่รุนแรงและไม่มียาตัวเลือกอื่น
เนื่องจากพิษของยาที่รุนแรง การใช้ยานี้ในปัจจุบันน้อยลง
กลไกการออกฤทธิ์
จับแบบผันกลับกับไรโบโซมหน่วยย่อย 50s
ยับยั้งเอนไซม์peptidyl transferase ทำให้การสังเคราะห์โปรตีนที่กระบวนการ transpeptidation
ผลข้างเคียง
มีผลข้างเคียงที่อันตราย
ได้แก่ Gray-baby syndrome
คือมีอาการเขียว (cyanosis)
อาเจียน อุจจาระสีเขียว และความดันเลือดต่ำ เนื่องจากยาสะสมใน ทารกซึ่งมีเอนไซม์ในตับ (glucuronidase) ที่ไม่มากพอในการกำจัดยา
ควรหลีกเลี่ยงการใช้chloramphenicol ในสตรีตั้งครรภ์ในระยะใกล้ครบ กำหนดคลอด
กดไขกระดูก (bone marrow suppression)
ไขกระดูกฝ่อ (aplastic anemia) ซึ่งพบน้อยแต่เป็นอันตรายถึงชีวิต
ซีดเพราะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolytic anemia) โดยเฉพาะในผู้ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์glucose-6-phosphate dehydrogenase (G6PD deficiency
กลุ่ม Macrolides และ ketolides
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับไรโบโซมหน่วยย่อย 50s
ยับยั้งกระบวนการ translocation ในการสังเคราะห์โปรตีน
Macrolides
Erythromycin มีผลต่อแบคทีเรียคล้าย penicillins สามารถใช้ได้ในผู้ป่วยที่แพ้ penicillins
Clarithromycin ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดีกว่า erythromycin และออกฤทธิ์ นานกว่า ครอบคลุมแบคทีเรียคล้าย erythromycin แต่กว้างกว่า โดยมีผลต่อแกรมลบ มากขึ้น
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน อุจจาระร่วง
หูหนวกหรือหูตึงชั่วคราว เมื่อใช้erythromycin ในขนาดสูง
Erythromycin estolate ทำให้เกิดตับอักเสบชนิด cholestatic hepatitis ซึ่งพบ
บ่อยในสตรีมีครรภ์
Azithromycin
มีราคาแพง ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดีมีค่าครึ่งชีวิตยาว อาจให้สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
เป็นยาที่ใช้รักษาการติดเชื้อ Mycobacterium avium inter-cellulare complex ในผู้ป่วยเอดส์
ใช้ในการติดเชื้อ Chlamydia trachomatis ที่ทำให้ท่อปัสสาวะอักเสบ
ketolides
ได้แก่ telithromycin, ยา erythromycin - azithromycin เป็นทั้งยากินและยาฉีด
clarithromycin และ telithromycin เป็นยากิน
มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ (bacteriostatic) หรือฆ่าแบคทีเรีย (bactericidal) ขึ้นกับชนิดของแบคทีเรีย
Telithromycin
ครอบคลุมเชื้อเหมือนกับ clarithromycin และ azithromycin รวมกัน
ใช้รักษาการติดเชื้อในทางเดินหายใจ
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
ทำให้อาการ myasthenia gravis แย่ลง
ช่วง QT ยาวขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ห้ามใช้ clarithromycin ในสตรีมีครรภ์ อาจเกิดความผิดปกติ
กลุ่ม Lincosamides
ตัวอย่างยา ได้แก่ clindamycin และ lincomycin
กลไกการออกฤทธิ์
มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย (bacteriostatic) โดยจับกับไรโบโซม หน่วยย่อย 50s
ยับยั้งที่กระบวนการ translocation
ประโยชน์
clindamycin ใช้รักษาการติดเชื้อ anaerobes เช่น Bacteroides fragilis ที่มักทำให้เกิดการอักเสบในช่องท้องที่เกี่ยวกับการบาดเจ็บ
แบคทีเรียแกรมบวก เช่น streptococci, staphylococci และ pneumococci
ผลข้างเคียง
ทำให้Clostridium difficile เจริญและหลั่งสารพิษออกมาอุจจาระเป็นเลือด ทำให้อุจจาระร่วง
Pseudomembranous colitis เกิดจากยา lincosamides ทำลายแบคทีเรียปกติในลําไส้ (normal flora)
เม็ดเลือดขาว granulocyte ตํา (granulocytopenia)
ผื่น
กลุ่ม oxazolidinones
Linezolid
เป็นยาใหม่ที่สังเคราะห์ขึ้น
กลไกการออกฤทธิ์
รบกวนกระบวนการเริ่มต้นสังเคราะห์โปรตีน (initiation)
ยับยั้งการจับระหว่างไรโบโซมหน่วยย่อย 50s และ 30s
ประโยชน์
สงวนไว้ใช้สำหรับการติดเชื้อ Enterococcus faecium ที่ดื้อต่อ vancomycin
แบคทีเรียแกรมบวกอื่นที่ดื้อต่อยาหลายชนิด ทั้งทรงแท่งและทรงกลม
กลุ่มยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ต่อกรดนิวคลีอิก Antibiotics acting on nucleic acid Quinlones
Quinlones และ fluoroquinolones
ฤทธิ์ขึ้นกับความเข้มข้น (concentration-dependent) และมี post antibiotic effect คล้าย aminoglycosides ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้างต่อแบคทีเรีย
มีฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรีย (bactericidal)
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเข้าสู่เซลล์แบคทีเรียโดย passive diffusion ทาง membrane
ยับยั้บเอนไซม์topoisomerase II (หรือ DNA gyrase) และ topoisomerase IV ไปปิดกั้นการสังเคราะห์DNA
รบกวนกระบวนการ DNA replication ในแบคทีเรีย
ยายับยั้ง DNA gyrase มากกว่า topoisomerase IV ในแบคทีเรียแกรมบวก
Quinolones รุ่นที่ 1 (first generation)
ได้แก่ยา nalidixic acid มีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบในทางเดินปัสสาวะ
ไม่ใช้เป็นยาปฏิชีวนะที่กินหรือฉีด เพราะมีคุณสมบัติที่ทำให้ระดับยาใน เลือดไม่สูง พอและเกิดการดื้อยาเร็ว แต่ใช้เป็นน้ำยาล้างฆ่าเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (urinary antiseptics)
การใช้ยานี้ในปัจจุบันน้อยลงและถูกแทนที่โดย fluoroquinolones (quinolone รุ่นที่ 2 เป็นต้นไป) เพราะระดับยาสามารถขึ้นสูงในเลือดมาก พอที่จะออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้
Quinolones รุ่นที่ 2 (second generation)
ได้แก่ยา norfloxacin, ofloxacin และ ciprofloxacin
มีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบเป็นหลัก และมีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวกบางชนิด
ใช้ไม่ได้ผลในการรักษาการติดเชื้อในกระแสเลือด และวัณโรค
Quinolones รุ่นที่ 3 (third generation)
มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมลบมากขึ้น - มีประสิทธิภาพต่อเชื้อ atypical สูงขึ้น
ได้แก่ยา levofloxacin, moxifloxacin, gatifloxacin, sparfloxacin
มีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวกบางชนิด
Quinolones รุ่นที่ 4 (fourth generation)
มีประสิทธิภาพดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ และ anaerobes
ได้แก่ยา travofloxacin – ยามีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวกมากขึ้น
ยาสงวนไว้สำหรับการตดิ เชื้อที่รุนแรง เช่น pneumonia ที่ดื้อต่อยาอื่นหรือการ ติดเชื้อในช่องท้อง
มีประสิทธิภาพน้อยต่อ Pseudomonas aeruginosa
Metronidazole
กลไกการออกฤทธิ์
เมื่อเข้าสู่เซลล์แบคทีเรียจะถูกเปลี่ยนไปเป็นรูปที่ออกฤทธิ์
Metronidazole เป็น prodrug
ทำลาย DNA ทั้ง single-strand และ double-strand DNA
ประโยชน์
มีทั้งชนิดกินและฉีด
รักษาการติดเชื้อ anaerobes โดยเป็นยาตัวเลือกอันดับ 1
รักษาโรค pseudomembranous colitis ซึ่งเกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ทำลายแบคทีเรียที่มีปกติในลําไส้จนเชื้อ Clostridium difficile เจริญแทนที่
ใช้ทำลายเชื้อ Helicobacter pylori ที่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
รักษาการติดเชื้อโปรโตซัวที่ไม่อาศัยออกซิเจน
ผลข้างเคียง
ปัสสาวะแสบขัด กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
พิษต่อระบบประสาท ทำให้ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เดินเซ ชัก และชา
ระคายเคืองทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้อาเจียน
มีอาการ disulfiram-like reactions เกิดปฏิกิริยาคล้ายการได้รับ disulfiram ถ้าดื่มเหล้าร่วม เช่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
การแพ้ยา จะมีอาการ ผื่น คัน
ยาต้านโฟเลต (antifolate drugs)
ยา sulfa
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์กรดโฟเลตในแบคทีเรีย
ยามีโครงสร้างคล้าย PABA จึงแย่งจับกับเอนไซม์ dihydropterooate synthase แบบแข่งขัน
ยามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย (bacteriostatic)
ยาใช้ได้ผลมากกับแบคทีเรียที่โตเร็ว
การครอบคลุมแบคทีเรีย: ยามีผลต่อเชื้อแกรมบวกและแกรมลบ รวมทั้ง Nocardia และ Chlamydia
ประโยชน์
Sulfisoxazole และ sulfamethoxazole ใช้รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะที่ เกิดจาก E. coli และ Klebsiella
ยา sulfasalazine ใช้รักษา ulcerative colitis - ยา silver sulfadiazine เป็นครีมทาใช้รักษาแผลไฟไหม้
ยา sulfacetamide รักษาการติดเชื้อตาที่เกิดจาก Chlamydia trachomatis
ยา sulfisoxazole ใช้รักษาโรค nocardiosis ใช้เป็นตัวเลือกรองจาก cotrimoxazole
ผลข้างเคียง
การแพ้ยา (hypersensitivity reactions)
ความผิดปกติในทางเดินปัสสาวะ เช่น มีเลือดในปัสสาวะ (hematuria) มีผลึกในปัสสาวะ (crystalluria) - nephrosis และ allergic nephritis
ไข้
ผื่น และอาจเกิด Stevens-Johnson syndrome
มีอาการซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก (hemolytic anemia) โดยในผู้ที่มี ภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD
Trimethoprim
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์dihydrofolate reductase
รักษาปอดอักเสบที่เกิดจากเชื้อ Pneumocystis carinii ในผู้ป่วยเอดส์ โดยอาจให้กินหรือฉีด IV
ทำให้ปิดกั้นการสังเคราะห์ tetrahydrofolic acid ซึ่งจําเป็นต่อการสังเคราะห์ purine, DNA และโปรตีนประโยชน์
ใช้เป็นยาผสม คือ co-trimoxazole ประกอบด้วย trimethoprime+sulfamethoxazole (TMP-SMX ) (Bactrim®)
ยารักษาโรคมาลาเรีย (Antimalarial Drugs)
อาการเฉพาะ
มีไข้
หนาวสั่น
จับไข้เป็นพักๆ ไข้อาจจับได้ทุกวัน หรือวันเว้นวัน หรือจับวันเว้น 2 วัน
อาการอาจเป็นแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
ผู้ป่วยมักซีด ตับโตม้ามโต อาจมีอาการทางสมองตับหรือไตวายร่วมด้วย
อาการจับไข้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1.ระยะหนาว
มีอาการหนาวสั่นมากและไข้เริ่มขึ้น ปวดศีรษะ ผิวหนังซีด อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร กินเวลา 20-60 นาที
3.ระยะเหงื่อออก
จะมีเหงื่อออกชุ่มทั้งตัว ไข้จะลดลงเป็นปกติแต่จะรู้สึกเพลีย และหลับ ไปกินเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง
2.ระยะร้อน
อาจปวดลึกเข้าไปใน กระบอกตา หน้าแดง ตาแดง กระสับกระส่าย เพ้อ กระหายนํา ชีพจรเต้นเร็ว อาจมี คลื่นไส้อาเจียน ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ ในเด็กกอาจชักได้ระยะนี้กินเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง (อาจนาน 3-8 ชั่วโมง)
ยาที่ใช้รักษามาลาเรีย
1. ยาออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อที่อยู่ในตับก่อนเข้าเม็ดเลือดแดง (Primary tissue schizontocide)
เช่น Proguanide, Pyrimethamine, Primaquine (ไม่นำมาใช้ป้องกันเพราะมี ผลข้างเคียงมาก)
2. ยาออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อระยะไร้เพศในเม็ดเลือดแดง
เรียกว่า Blood schizontocide
เป็น ระยะที่ทำให้เกิดอาการป่วยไข้การที่ยาสามารถฆ่าเชื้อนี้ได้จึงเป็นยาที่รักษาให้หายจากโรค
เช่น Qhloroquine,Quinine
3. ยาออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อที่พักอยู่ในตับ เรียกว่า Tissue schizontocide
ยานี้เป็นยาต้านไข้ กลับในกรณีของเชื้อ vivax หรือ ovale
ได้แก่ Primaquine
4. ยาออกฤทธิ์ฆ่า Gametocyte เรียกว่า Gametocytocide
เป็นยาที่ใช้กําจัดการแพร่ ของโรค
เช่น Primaquine
5. ยาออกฤทธิ์ขัดขวางการเจริญเป็น Sporozite ในยุง เรียกว่า Sporontocide
เช่น Chloroguanide และ Pyrimethamine ยานี้กําจัดการแพร่ของโรค
ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics)
เป็นสารสกัดจากจุลินทรีย์บางชนิด
สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค (Bacteriostatic)
ทําให้เชื้อโรคนั้นตายได้ (Bactericidal)
กลไกการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะต่อแบคทีเรีย
ขัดขวางการสร้างผนังเซลล์
ขัดขวางการทํางานของเยื่อหุ้มเซลล์
ขัดขวางการสร้างโปรตีนในเซลล์
ขัดขวางการสร้างกรดนิวคลีอิค
ทําให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิดปกติ
ยาต้านแบคทีเรีย
ยากลุ่มยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
ยากลุ่มยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
1.Penicillins
กลไกออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ transpeptidase ซึ่งเป็นเอนไซม์PBP ทําให้ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์(cell wall)
ยา penicillins ผ่านผนังเซลล์แบคทีเรียแล้วไปจับกับ penicillin-binding proteins (PBP)
ทําให้เซลล์แบคทีเรียแตกสลาย (lysis)
กลไกการดื้อต่อ penicillins มี 3 กลไกหลัก
การสร้าง β-lactamase เพื่อทําลายยาการเปลี่ยนแปลง PBP ทําให้ยาจับได้น้อยลงและการเปลี่ยนแปลง porins ทําให้ยาผ่านเข้าได้น้อยลง
ยาไม่มีผลต่อแบคทีเรียที่ไม่มีผนังกั้นเซลล์หรือแบคทีเรียที่อยู่ในระยะที่ไม่ได้เจริญเติบโต
โดยปกติยา penicilins จะไม่เข้าสมอง ยกเว้นเมื่อเกิดการอักเสบ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) ทําให้ยาสามารถผ่านเข้าสมองได้
ประโยชน์ในการใช้
Natural penicillins มีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวกเป็นส่วนใหญ่ เชื้อที่ไวต่อยา
streptococci (streptococcus group A, B, C, G)
ใช้ penicillin เป็นยาตัวเลือกอันดับ 1
Pneumococci (streptococcus pneumoniae)
ใช้penicillin เป็นยาตัวเลือกอันดับ 1
แต่ปัจจุบันพบเชื้อนี้ดื้อต่อยา penicillin มากกว่า 70%
Meninggococci (Neisseria meningitides)
ใช้ยา penicillin เป็นตัวเลือกอันดับ 1
แต่ยาไม่มีผลต่อ Neisseria gonorrhoeae
Clostridium
เช่น โรค gas gangrene (clostridium perfringens) และบาดทะยัก
(clostridium tetani)
spirochetes
เช่น syphilis, leptospirosis
เชื้ออื่นๆ
เช่น Listeria, enterococci, diphtheria, antrax
ผลข้างเคียง
ปฏิกิริยาแพ้ (hypersensitivity reactions) มีอาการผื่นลมพิษคัน ไข้ข้อบวม และหลอดลมหดเกร็ง ช็อค ผู้ป่วยที่แพ้มีโอกาสแพ้
ชัก (seizure) อาจเกิดได้ในผู้ป่วยที่มีไตบกพร่อง และทารกแรกเกิดที่การทํางานของไตไม่สมบูรณ์
เลือดจางเนื่องจากเมด็เลือดแดงแตก (hemolytic anemia)
ไตอักเสบ (nephritis)
พิษจาก cations ถ้าให้ยาในขนาดสูงมากอาจทําให้ภาวะคั่งของ sodium หรือpotassium ได้
ยา penicillins ที่สามารถต้านเชื้อ staphylococcus
Methicillin เลิกใช้ทางคลินิกแล้ว
Nafcillin, Dicloxacillin, Cloxacillin, Oxacillin ใช้เป็นยากิน ยาฉีดเข้าหลอดเลือดดํา หรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ประโยชน์การนําไปใช้
มีขอบเขตการต้านแบคทีเรียแคบ
ควรใช้เฉพาะการรักษาการติดเชื้อ staphylococci ซึ่งสร้าง β-lactamase และเป็นเชื้อที่ไวต่อmethicillin
ในกรณีที่ผลเพาะเชื้อพบว่าเชื้อ staphylococcus aureus ดื้อต่อ methicillin แสดงว่ายากลุ่มนี้ทั้งหมดใช้ไม่ได้ผล ทางเลือกคือใช้ vancomycin
ผลข้างเคียง
เหมือนกับ natural penicillins
Methicillin ทําให้เกิดไตอักเสบจึงเลิกใช้ยานี้ในคนแล้ว
Methicillin กับ Nafcillin อาจทําให้เม็ดเลือดขาวชนิด granulocytes ต่ำ(granulocytopenia) โดยเฉพาะในเด็ก
Oxacillin อาจทําให้ตับอักเสบ (hepatitis)
Penicillins ที่มีขอบเขตการต้านเชื้อที่ขยายออกไป
Amoxicillins ใช้เป็นยากิน
Ampicillin ใช้เป็นยากิน ยาฉีดเข้าหลอดเลือดดํา หรือฉีดเข้ากล้าม
ประโยชน์การนําไปใช้
ใช้เป็นตัวเลือกแรก (first-line drug)
3 more items...
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (urinary tract infection, UTI)
การติดเชื้อ Salmonella โดยเป็นตัวเลือกรองจาก cephalosporin รุ่น ที่ 3
ผลข้างเคียง
เหมือนกับ penicillins
การใช้ ampicillin ในผู้ป่วยโรค mononucleosis อาจทําให้เกิดผื่น
Ampicillin อาจทําให้เกิดผื่น pseudomembranous colitis
Penicillins ที่สามารถต้านเชื้อ Pseudomonas
ตัวอย่างยา เช่น piperacillin และ ticarcillin เป็นยาฉีดเข้ากล้ามและหลอดเลือดดํา
ผลข้างเคียง
ยับยั้งการทํางานของเกร็ดเลือด (Platelet dysfunction)
การแพ้ยา
ยาที่ใช้รักษาการติดเชื้อ Pseudomonas arieruginosa
3 more items...
การเลือกใช้ยาต้องพจิารณายาตัวเลือกที่ 1 ก่อนเสมอ
2.Cephalosporins
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับ peniciilin binding protein (PBP)
แล้วยับยั้ง transpeptidase ใน PBP
กระตุ้นเอนไซม์ autolysin ทําให้แบคทีเรียย่อยสลายตัวเองมากขึ้น
ผลข้างเคียง
การแพ้ยา
พิษต่อไต (nephrotoxicity)
Disulfiram-like reactions ถ้าได้รับแอลกอฮอล์ร่วมอาจเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
Coombs’test ให้ผลบวก แต่มักไม่พบว่าเกิดภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก (hemolytic anemia)
Hypothrombinemia ยาทําให้การสร้าง thrombin (clotting factor II) น้อยลง
แบ่งเป็น 4 รุ่น
Cephalosporins รุ่นที่ 1 ยากินได้แก่ cephalexin (keflex®) และ cephadroxil มีฤทธิ์ครอบคลุมแบคทีเรีย
แบคทีเรียแกรมบวกทรงกลม (gram-positive cocci)
ยาไม่ครอบคลุมเชื้อ enterococci (Enterococcus faecalis) และ methicillin-resistant
Staphylococcus aureua (MRSA)
ไม่เข้าสมอง
นิยมให้ก่อนผ่าตัด เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ผิวหนัง
Cefazolin ออกฤทธิ์นาน ยาเข้ากระดูกได้ดี
Cephalexin เป็นยาต้นแบบของ cephalosporin รุ่นที่ 1 ที่เป็นยาชนิดกิน
Cephalosporins รุ่น ที่ 2
ยากินได้แก่ cefaclor, cefuroxime axetil, loracarbef และcefprocil ยาฉีดได้แก่ cefotetan, cefoxitin และ cefuroxime
การครอบคลุมแบคทีเรีย คล้าย cephalosporin รุ่น ที่ 1 และขยายขอบเขตสู่แบคทีเรียแกรมลบมากขึ้น - Cefoxitin
Cefaclor ใช้รักษาการติดเชื้อ Hemophilus influenzae, Moraxella catarrhalis
Cefuroxime เป็นยาต้นแบบ (prototype) ของ cephalosporins รุ่น ที่ 2 มีทั้งชนิดกินและฉีดยานี้ทนต่อ
β-lactamase ส่วนใหญ่ไม่เข้าสมอง
Cephalosporins รุ่น ที่3
ยากินได้แก่ cefixime, cefpodoxime, cefdinir, ceftibuten
ยาฉีดได้แก่ cefoperazone, cefotaxime, ceftazidime, ceftizoxime และ ceftriaxone
ครอบคลุมแบคทีเรียแกรมลบหลายชนิด ทั้งทรงกลมและแท่ง แต่ครอลคลุมแบคทีเรียแกรมบวกน้อย
มีผลต่อเชื้อแกรมลบหลายชนิดเช่น Neisseria และ Hemophilus ที่สร้าง β-lactamase
Cephalosporins รุ่นที่ 4
ตัวอย่างยาได้แก่ cefepime, cefpirome ใช้เป็นยาฉีดเท่านั้น
ยามีฤทธิ์ขยายขอบเขตต่อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบมากขึ้น เมื่อเทียบกับรุ่นที่ 3 โดยเฉพาะเชื้อPseudomonas ที่สร้าง β-lactamase (ยาทนต่อเอนไซม์นี้มากขึ้น)
แต่ยาไม่ครอบคลุมเชื้อ MRSA,Enterococcus faecalis, Bacteroides fragilis และ Listeria
Monocytogenes
Carbapenems
มีโครงสร้างคล้าย penicillins
เป็นยาต้านแบคทีเรียกลุ่ม β-lactams ที่ได้มาจากการสังเคราะห์
มีฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรีย (bactericidal)
มีกลไกการออกฤทธิ์เหมือน penicillins ในปัจจุบันยายังทนต่อ β-lactamase
Imipenem
การยับยั้งเอนไซม์นี้ทําให้ยา Imipenem มีผลรักษาการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ลดพิษต่อไต
Imipenem ถูกทําลายอย่างรวดเร็วโดย dehydropeptidase ในไต
meropenem และ ertapenem ไม่ถูกทําลายด้วยเอนไซม์
ยาถูกขับออกทางปัสสาวะ ต้องปรับลดขนาดยาในผู้ป่วยไตวาย
ประโยชน์การนําไปใช้
รักษาการติดเชื้อ pneumococci ที่ด้ือต่อ penicillins โดยใช้เป็นตัวเลือกรองจาก ceftriaxone
ใช้ Imipenem หรือ meropenem ร่วมกับ tobramycin รักษาการติดเชื้อ Pseudomonas โดยเป็นตัวเลือกอันดับ 3
รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะที่เกิดจาก Enterobacter (แกรมลบทรงแท่ง) ใช้เป็นตัวเลือกอันดับ 1
ผลข้างเคียง
ชัก (seizures) โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคไต
รบกวนระบบทางเดินอาหาร (คลื่นไส้อาเจียน อุจจาระร่วง)
เม็ดเลือดขาวชนิด eosinophils มาก (eosinophilia)
เม็ดเลือดขาวชนิด neutrophils ต่ำ (neutropenia)
เกิดการแพ้ (ถ้าผู้ป่วยแพ้ penicillins ก็อาจแพ้ยานี้ด้วย)
ยาอื่นๆที่ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์
Bacitracin
ใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ โดยไปยับยั้งการเสียหมู่ฟอสเฟต (dephosphorylation) ของ
bactropenol pyrophosphate
ยาไม่ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารในบางครั้งเพื่อ กำจัดเชื้อ Clostidium difficile ในทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียง
ผื่นคลื่นไส้อาเจียน
Cycloserine
เป็น analog ของ D-Ala
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ peptidoglycan
ยามีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบแต่นิยมใช้รักษาวัณโรคซึ่งเกิดจากเชื้อMycobacterium tuberculosis ที่ดื้อต่อยาต้านวัณโรคตัวเลือกแรก (first-line-drugs)
ผลข้างเคียง
พิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง
อาจทําให้เกิดสั่น (tremors)
ชัก (seizures)
สับสน (confusion)
ปวดศีรษะ
มีอาการโรคจิต (psychosis)
Fosfomycin
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นยากิน
ยับยั้ง enol pyruvate trnasferase ในแบคทีเรีย แต่ไม่มีผลต่อเอนไซม์นี้ในคน
มีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบ เช่น E. coli, Klebsiella และ Serratia
ยาถูกขับออกทางเดินปัสสาวะ
ยามีผลน้อยมากต่อแบคทีเรียแกรมบวก
ผลข้างเคียง พบน้อย ได้แก่ ปวดศีรษะ อาเจียน อุจจาระร่วง
ยายับยั้ง β-lactamase (β-lactamase inhibitors)
ตัวอย่างยา เช่น clavulanic acid, sulbactam และ tazobactam
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง β-lactamase ชนิด (class ) A
แต่ไม่มีผลต่อ β-lactamase ชนิด B, C และ D เมื่อให้ยาเหล่านี้อย่างเดียวจะไม่มีผลต่อแบคทีเรียแต่ต้องใช้ร่วมกับ β-lactams เช่น penicillins ปัจจุบันใช้ยาเหล่านี้ผสมกับยายับยั้งการสร้างผนังเซลล์อื่นๆ เช่น
amoxicillin+clavulanate (Augmentin®) เป็นยากิน
ampicillin+sulbactam (Unansyn®) เป็นยาฉีด
piperacillin+tazobactam (Zosyn®) เป็นยาฉีด
ticarcillin+clavulanate (Timentin®) เป็นยาฉีด
ยายับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนในแบคทีเรีย
Aminoglycosides
ได้แก่ amikasin, netilmycin, neomycin, tobramycin, gentamycin, streptomycin
กลไกการออกฤทธิ์
ยามีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบ โดยยาผ่านเยื่อชั้นนอก (outer membrane) ทางโปรตีน ยาจะถูกนําเข้าเซลล์โดยกระบวนการ active transport ซึ่งอาศัยออกซิเจน
ทําให้ยาผ่านเยื่อ cytoplasmic เข้าสู่ cytoplasm แล้วยาจับกับไรโบโซมหน่วยย่อย 30s อย่างถาวร
ทําให้มีการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนในระยะเริ่มต้น (initiation step)
ทําให้เกิดความผิดพลาดในการอ่าน mRNA (mRNA misreading)
aminoglycoside มีฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรีย (bacteriacidal)
กลไกการดื้อยา aminoglycosides
เกิดจากเอนไซม์ trasferase ซึ่งสร้างโดยเชื้อ gene ที่คุมการสร้างเอนไซม์ถูถ่ายทอดสู่แบคทีเรียตัวอื่นทางพลาสมิด
การลดการขนส่งยาเข้าแบคทีเรีย
การเปลี่ยนโครงสร้างของไรโบโซมหน่วยย่อย 30s จนทําให้ยาจับได้ไม่ดี
ผลข้างเคียง
พิษต่อไต (nephrotoxicity) พบบ่อยใน gentamicin และ tobramycin โดยปกติไม่ถาวรแต่ถ้าให้ยาต่อไปนานๆอาจทําให้เกิด acute tubular necrosis จนไตเสื่อมถาวร ซึ่งพบบ่อยในผู้สูงอายุ
2.พิษต่อหู (ototoxicity) พบบ่อยใน amikacin และเกิดถาวร เนื่องจากยามีพิษต่อvestibular nerveและ auditory nerve ทําให้เวียนหัวและหูหนวกตามลําดับ พิษต่อหูนี้จะเกิดมากขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะกล่มุ loop diuretics
3.ปิดกั้น neuromuscular junction ทําให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงคล้ายอัมพาต (paralysis) เมื่อได้รับยาในขนาดสูงสาเหตุเพราะยายับยั้งการหลั่ง acetylcholine จากปลายประสาท และเพิ่ม ความไวของ acetylcholine receptors ที่ด้าน postsynaptic
ใช้ยาในหญิงมีครรภ์อาจทําให้เกิดพิษต่อ cranial nerve VIII ดังนั้นควรใช้ยาอย่างระมัดระวัง
ยา aminoglycosides มีผลข้างเคียงที่ร้ายแรงโดยเฉพาะต่อหูและไต ดังนั้นควรติดตามระดับยาในกระแสเลือด
Netilmicin มีพิษต่อไตน้อยที่สดุ ในกลุ่มaminoglycosides ยานี้มีขอบเขตต่อเชื้อแกรมลบคล้าย amikacin