Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจ
ในสตรีตั้งครรภ์, นางสาว วิภารัตน์ คงโพชา
61122230039 เลขที่34 -…
-
-
-
-
อาการ
หัวใจห้องซ้ายล้มเหลว
ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู
หัวใจเต้นเร็วกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีอาการอ่อนเพลีย
ปอดบวมน้ำ
หายใจลำบาก
นอนราบไม่ได้
เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
หัวใจห้องขาวล้มเหลว
อาเจียน
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
ตรวจพบตับโตกดเจ็บ
ปลายมือปลายเท้าเย็น
มีอาการเบื่ออาหาร
ปัสสาวะออกน้อยและปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การเจ็บป่วยในอดีต ปัจจุบัน และประวัติครอบครัว
การมีภาวะ cyanosis
อาการไอ บวม กดบุ๋ม
ระดับความทนต่อการทำกิจกรรมทางกาย
การตรวจร่างกาย
ประเมิน capillary filling time
อาการบวม กดบุ๋ม
ดูการโป่งพองบริเวณ neck vein
ฟังเสียงปอดและหัวใจ พบความผิดปกติ สัญญาณชีพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ ตรวจค่า arterial blood gas เพื่อประเมินปริมาณออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดหรือภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
**[การตรวจพิเศษ](https://example.s การตรวจ electrocardiography เพื่อตรวจอัตราและจังหวะการเต้นของหัวใจขนาดของหัวใจและภาวะหัวใจขาดเลือด
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
ส่งเสริมภาวะโภชนาการ ให้ folic acid & vitamin C เพื่อส่งเสริมการดูดซึม ธาตุเหล็ก ควบคุมน้ําหนักไม่ให้เพิ่มมากเกินไปให้ธาตุเหล็กเสริม เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง ไม่จําเป็นต้องจํากัดเกลือ ยกเว้นในรายที่รุนแรง ส่งเสริมการพักผ่อนพักผ่อนอย่างเต็มที่ อาจต้องหยุดทํางาน ตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์ นอนตะแคงหรือนอนศีรษะสูง หลีกเลี่ยงการนอนหงาย จํากัดการทํากิจกรรม บางราย Complete bed rest (GA~ 30-36 wks) การมาฝากครรภ์ตามนัด การพยาบาลระยะคลอด
- นอนท่าศีรษะสูง ให้ออกซิเจนเพื่อลดการทำงานของหัวใจ
- เฝ้าระวัง จาการ HF เช่น เหนื่อย ชีพจรเบาเร็ว BP ต่ำ
- ฟัง FHS ทุก 15นาที แล: progress of labour
ระยะที่ 2…นอนท่าFowler's ห้ามเบ่ง (ห้ามท่าLithotomy)
- หลังคลอด…Check Blood Loss เพื่อดู Heart Load
การพยาบาลระยะหลังหลอด
1.นอนพักผ่อนให้เต็มที่เพื่อลดการใช้ ออกซิเจน(ศรีษะสูง)
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้งและทุก 30 นาที 2 ครั้งหลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าอาการจะคงที่แล้วจึงเปลี่ยนเป็นประเมินทุก
2 ชั่วโมงประเมินการทำงานของหัวใจ
3.เฝ้าระวังอาการ HIF ใน 24 ชั่วโมงแรกเช่น เหนื่อย ชีพจรเบาเร็ว
4.ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกประเมิน Blood Loss ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดและแผลฝีเย็บตามหลัก REEDA เพื่อป้องกันการตกเลือดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือตกเลือดจากเลือดคั่งที่แผลฝีเย็บ
- มารดาที่มีโรคหัวใจ class lll-lVควรทำหมัน แต่ไม่ควร ทำในระยะหลัง
คลอดทันที ควรรอให้ระบบไหลเวียนโลหิตทำงาน ได้ดีขึ้นก่อนหรือแนะนำให้สามีทำหมัน
6.ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลมารดา-ทารก
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลของโรคหัวใจต่อมารดา
-หัวใจวาย
-น้ำท่วมปอด
-คลอดก่อนกำหนด
-แท้ง
-ติดเชื้อ
ผลของโรคหัวใจต่อทารก
-ทารกตายในครรภ์
-ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
-ทารกในครรภ์พร่องออกซิเจนแท้งเอง
-คลอดก่อนกำหนดญ
พยาธิสภาพ
ในขณะที่ตั้งครรภ์ปริมาตรเลือด (blood volume) จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนกระทั่งคงที่เมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สามในช่วงอายุครรภ์ 30-32 สัปดาห์ปริมาตรเลือดที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดประมาณร้อยละ 45-50 ส่วนปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที (cardiac output) เพิ่มขึ้นร้อยละ 43 อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นร้อยละ 17 ในระยะท้ายของการตั้งครรภ์ cardiac output ก็ยังคงสูงอยู่เช่นเดิมเมื่อเข้าสู่ระยะคลอดการหดรัดตัวของมดลูกส่งผลให้ cardiac output เพิ่มขึ้น
-