Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, หน่วยที่ 7 รูปแบบและแนวทางการ…
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามวิธีการทำงาน
แบบการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน
ถ่ายทอดความรู้ TRANING
สมรรถนะ
สร้างทักษะ อัตลักษณ์
ของนักส่งเสริมการเกษตร
ผู้บริหาร
นักบริหารแผนงานฯ/ นักนิเทศ / Coaching/
นักจัดการแผนงานโครงการ
ผู้ปฏิบัติ
นักส่งเสริมการเกษตรมืออาชีพ
วิชาการ
เติมเต็มองค์ความรู้นวัตกรรม
เทคโนโลยีสมัยใหม่
นักจัดการด้านพืช/สถาบันเกษตรกร/อารักขาพืช/ยุทธศาสตร
แผนงาน โครงการ
ถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ
วางแผน/สรุปบทเรียน
ขับเคลื่อน
งานส่งเสริมการเกษตร
เยี่ยมเยียน visiting
วันจันทร์ เป็นการประชุมวางแผนการปฏิบัติงาน
วันอังคาร เป็นการลงเยี่ยมเยียนในงานเน้นหนัก
งานโครงการพระราชดำริฯ
การส่งเสริมการปลูกพืชตามนโยบาย
วันพุธ เป็นการเยี่ยมเยียนงานปกติของกรมส่งเสริมการเกษตร
งานโครงการ
ส่งเสริมการปลูกพืช สถาบันเกษตรกร และอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.)
วันพฤหัสบดี เป็นการเยี่ยมเยียนงานนโยบายกระทรวง
การเยี่ยมเยียนศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ศูนย์เครือข่าย การเกษตรแบบแปลงใหญ่
แปลงส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรปราดเปรื่อง (smart famer)และเกษตรกรรุ่นใหม่ (youngsmart farmer)
วันศุกร์ เป็นวันสรุปผลการปฏิบัติงานและเป็นวันสำรองการปฏิบัติงาน
แบบการบริการเบ็ดเสร็จ
การมีจุดให้บริการที่สะดวก
การมีเกษตรกรต้นแบบ
โดยบุคคลเหล่านี้จะทำหน้าที่บริการถ่ายทอด
ความรู้ทางการเกษตร ณ จุดที่ให้บริการ
การมีหลักสูตรการเรียนรู้ที่ชัดเจน
การเน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
การบริหารงานร่วมกัน
แผนการพัฒนาที่เกิดจากชุมชน
แบบผสมผสาน
นำข้อดีของรูปแบบต่างๆมาผสมผสานกัน โดยมีข้อคำนึง ดังนี้
สภาพพื้นที่
การออกแบบรูปแบบผสมผสานในแต่ละพื้นที่
ศึกษาลักษณะการทำงาน
การประเมินผลเพื่อใช้ในพื้นที่ใหม่
แบบโครงการ
การวินิจฉัยปัญหา
การวิเคราะห์สถานการณ์และการระบุปัญหา
การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การทำแผนปฏิบัติงาน
การดำเนินการตามแผน
การติดตามและประเมินผล
แบบการมีส่วนร่วม
เกษตรกร
สถาบันเกษตรกรที่มีจำนวนเกษตรกรจำนวนมากเป็นสมาชิกอยู่ในสถาบันหรือองค์กร
กลุ่มเกษตรกร โดยการคัดเลือกในระดับชุมชนพื้นที่หรือระดับภูมิภาค
กเกษตรกรที่มีอำนาจหรือผู้มีประสบการณ์ในชุมชน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน หรือ
ผู้สูงอายุในชุมชน
นักส่งเสริม
ผู้จัดกระบวนการ
ภาคีเครือข่าย
เป็นหน่วยงานที่เข้ามาร่วมให้คำปรึกษาและร่วมแก้ไขปัญหาเฉพาะด้านตามที่
หน่วยงานนั้นๆ
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรตามวัตถุประสงค์
เพื่อการพึ่งพาตนเอง
TERMS
การพึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี(T= Technology)
การพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ (E=Economy)
การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ(R=Resources)
การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ(M=Moral)
การพึ่งตนเองได้ทางสังคม (S=Social)
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง 2 เงื่อนไข
เกษตรทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 คือ การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดความมั่นคง
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 คือ การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่ม
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 คือ การส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงระดับเครือข่าย
เพื่อการดำเนินการเชิงธุรกิจ
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการจัดหาปัจจัยการผลิต
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการผลิต
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการตลาด
ผลิตภัณฑ์
ราคา
การจำหน่าย
การส่งเสริมการตลาด
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านโลจิสติกส์
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการเงิน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามจุดเน้น
จำแนกตามบุคคลเป้าหมาย
เกษตรกรรายย่อย แนวทางการส่งเสริมเกษตรกร
ในกลุ่มนี้จะเน้นที่ความมั่นคงของชีวิตเป็นพื้นฐาน
กลุ่มเกษตรกร เกษตรกรในกลุ่มนี้คือ เกษตรกร
มีความมั่นคงของชีวิตจากการประกอบอาชีพการเกษตร
ข่ายเกษตรกร เน้นการเชื่อมโยง
เครือข่ายกับภาคีต่างๆของการผลิตการตลาดและเชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรม
จำแนกตามพื้นที่เป้าหมาย
วิเคราะห์พื้นที่ให้ชัดเจน
ไม่ยึดติดกับพื้นที่การปกครอง
การประสานงานที่มีลักษณะเป็นการบูรณาการโดยมีศูนย์กลางคือพื้นที่
การแบ่งปัน ไม่แข่งขัน
จำแนกตามสินค้าและบริการเป้าหมาย
อัตลักษณ์เอกลักษณ์ของสินค้าและบริการ
การเกิดนวัตกรรมสินค้าและบริการ
คุณภาพและมาตรฐานของสินค้าและบริการ
การพิจารณาตลาด
ความสอดคล้องระหว่างศักยภาพการผลิตและปริมาณความต้องการของตลาด
การสื่อสารกับตลาดผู้บริโภค
หน่วยที่ 7
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
7