Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการวิเคราะห์การถดถอย…
หน่วยที่ 11 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการวิเคราะห์การถดถอย 104_วิษณุกรณ์
ความสัมพันธ์ (measure of correlation) เป็นวิธีการทางสถิติที่ใช้ความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป เช่น ต้องการดูว่าคนที่เก่งด้านคำนวณจะเก่งด้านภาษาหรือไม่ หรือคนที่มีความสามารถทางด้านเหตุผลจะมีความสามารถทางด้านการคิดเชิงสร้างสรรค์หรือไม่ เป็นต้น นอกจากจะดูว่าตัวแปร 2 ตัว มีความสัมพันธ์กันหรือไม่แล้ว ยังจะเป็นการดูว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับใด และมีทิศทางใด
สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ตัวแปรทั้งสองต้องเป็นข้อมูลต่อเนื่อง
ข้อมูลแต่ละชุดต้องเป็นอิสระต่อกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสองเป็นแบบเส้นตรง
ลักษณะความสัมพันธ์
ตัวแปรมีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์
มีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ทางบวก หรือทิศทางเดียวกัน
มีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ทางลบ หรือทิศทางตรงกันข้าม
ตัวแปรมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่สมบูรณ์
มีความสัมพันธ์กันอย่างไม่สมบูรณ์ทางบวก หรือทิศทางเดียวกัน
มีความสัมพันธ์กันอย่างไม่สมบูรณ์ทางลบ หรือทิศทางตรงกันข้าม
ตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กัน
ตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กัน
สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน
ใช้สัญญลักษณ์ rs เป็นวิธีที่ใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร หรือข้อมูล 2 ชุด โดยที่ตัวแปร หรือข้อมูล 2 ชุดนั้นจะต้องอยู่ในรูปของข้อมูลในมาตราจัดอันดับ (Ordinal scale)
การแปลค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
ในการหาความสัมพันธ์ของตัวแปร ค่าที่ใช้บอกความสัมพันธ์ คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์จะอยู่ในช่วง -1 ถึง 1 ค่าที่อยู่ ตรงกลางคือ 0 ซึ่งหมายความว่า ตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กัน ในเชิงเส้นตรง
เครื่องหมายบวกหรือลบไม่ได้บอกปริมาณความมากน้อย แต่จะบอกให้ทราบว่ามีความสัมพันธ์กันในทิศทางใด ถ้าเป็นเครื่องหมายลบจะบอกให้ทราบว่าตัวแปรทั้ง 2 ตัวมีความสัมพันธ์กันในทิศทางตรงกันข้าม แต่ถ้าเป็นเครื่องหมายบวกจะบอกให้ทราบว่าตัวแปรทั้ง 2 ตัว มีความสัมพันธ์กันในทิศทางเดียวกัน
การพิจารณาว่าตัวแปรทั้ง 2 ตัว มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ และมีความสัมพันธ์กันในระดับใด พิจารณาได้จากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ซึ่งมีเกณฑ์กว้าง ๆ ดังนี้ (McMillan, 2000. p.132)
การแปลความหมายค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ จะแปลเพียงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ และสัมพันธ์กันในระดับใด แต่จะไม่แปลความหมายในเชิงความเป็นเหตุเป็นผลของสองตัวแปรนั้น
การแปลผลเชิงปริมาณ ทำได้โดยการนำเอาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (𝑟) ที่คำนวณได้ยกกำลังสอง (𝑟^2) แล้วคูณด้วย 100 โดยจะเรียกค่านี้ว่า สัมประสิทธิ์กำหนด
การวิเคราะห์การถดถอย
เป็นวิธีการทางสถิติใช้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้น ไป ประกอบด้วย ตัวแปรที่เราทราบค่า เรียกว่าตัวประมาณการหรือตัวแปรต้นต้น (Predictor, Independent variable, X) และตัวแปรที่เราต้องการทราบค่า เรียกว่าตัวตอบสนอง หรือตัวแปรตาม (Response , Dependent variable ,Y)
y = f(r) หรือ y = ar+b
ประเภทของการวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์การถดถอยเชิงซ้อน
การวิเคราะห์การถดถอนพหุคูณของตัวแปลหลายตัว
การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS