Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tumor, Cancer and Neoplasm, Link Title - Coggle Diagram
Tumor, Cancer and Neoplasm
-
-
Differentiation
คือ ลักษณะของเซลล์เนื้องอก เมื่อเปรียบเทียบกับเซลล์ปกติที่เป็นเซลล์หรือ เนื้อเยื่อต้นกาเนิดทั้งในด้าน ลักษณะรูปร่างหน้าตาและการทางาน (Function)
Well differentiation – เซลล์เนื้องอกนั้น มีลักษณะรูปร่างและการทางานใกล้เคียงกับเซลล์หรือ เนื้อเยื่อต้นกาเนิดมาก แสดงถึงว่า เนื้องอกชนิดดังกล่าวมีการเจริญทีดี
Moderately differentiation – เซลล์เนื้องอกนั้น มีการเจริญที่ก้ากึ่งระหว่าง Well differentiation และ Poorly differentiation
Poorly differentiation – เซลล์เนื้องอกนั้น มีลักษณะรูปร่างและการทางานแตกต่างจากเซลล์หรือ เนื้อเยื่อปกติมากจนแทบจะบอกเซลล์หรือเนื้อเยื่อต้นกาเนิดไม่ได้
-
-
-
-
Cancer
มะเร็งเป็นโรคของเซลล์ที่มีความผิดปกติในระดับพันธุกรรม (genetic aberration) ทาให้มีการ เจริญเติบโตและเพิ่มจานวนของเซลล์อย่างผิดปกติ และอยู่นอกเหนือควบคุมได้ ส่งผลให้เกิดเป็นก้อนมะเร็ง ขึ้นมา
เซลล์มะเร็งมีคุณสมบัติสาคัญที่จาเป็นต่อการดารงคงอยู่ของเซลล์มะเร็งในร่างกาย ที่ถูกเรียกว่า The Hallmarks of Cancer (https://doi.org/10.3389/fevo.2021.661583 The Hallmarks of Cancer as Ecologically Driven Phenotypes Jason A. Somarelli* Front. Ecol. Evol., 28 April 2021) ซึ่งถูก อธิบายไว้โดย Douglas Hanahan และ Robert Weinberg ครั้งแรกในปี ค.ศ.2000 ที่อธิบายคุณสมบัติที่ สาคัญ 6 ประการของเซลล์มะเร็ง และ เพิ่มเติมอีก 4 ประการในปี ค.ศ.2011 ("Hallmarks of cancer: the next generation") รวมเป็น 10 ประการ
Teratoma
เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงของ Germ cells ซึ่งเป็นเซลล์ที่จะเจริญเป็นเนื้อเยื่อในกลุ่มทั้ง Ectoderm, Mesoderm and Endoderm ดังนั้นเนื้องอกดังกล่าวจะประกอบด้วย เซลล์เนื้องอกหลากหลาย ชนิดที่เจริญมาจาก Ectoderm, Mesoderm and Endoderm เช่น ผิวหนังพร้อมทั้งขน และต่อมไขมันที่ ผิวหนัง เนื้อเยื่อไขมัน เนื้อเยื่อสมอง และ เยื่อบุทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร เป็นต้น และ ถ้าเนื้องอก ดังกล่าวมีลักษณะคล้ายถุงน้าจะเรียกว่า Dermoid cyst
กลไกการเกิดมะเร็ง (Carcinogenesis, oncogenesis)
คือ ขั้นตอนกระบวนการที่ทาให้เซลล์ปกติ เปลี่ยนไปเป็นเซลล์มะเร็ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทั้งระดับพันธุศาสตร์(genetic), พันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม(epigenetic) และการแบ่งเซลล์ที่ผิดปกติ ในสภาวะปกติเซลล์จะมีกระบวนการการควบคุมการเจริญเติบโต เพื่อควบคุมให้ ปริมาณเซลล์มีสัดส่วนที่ปกติ โดยควบคุมผ่านกระบวนการเจริญเติบโต (proliferation) การพัฒนาให้มี ความจาเพาะของเซลล์ (differentiation) และการเข้าสู่วัยชราหรือการเข้าสู่ความตายของเซลล์ (senescence and apoptosis) ซึ่งทั้งสามกระบวนการจะมีการควบคุมให้มีสัดส่วนของเซลล์ในแต่ละ กระบวนการให้เหมาะสม แต่หากมีปัจจัยใดก็ตามทาให้กระบวนการทั้งสามมีความผิดปกติไปจะทาให้เซลล์นั้น กลายเป็นมะเร็ง
DNA repair genes ควบคุมการสร้างโปรตีนซึ่งทาหน้าที่ในการแก้ไขซ่อมแซมสาย DNA ที่เกิดความ เสียหายในขั้นตอนการสร้างสาย DNA ในระหว่างขบวนการแบ่งเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนกลุ่มนี้นาไปสู่ความ ไม่เสถียรทางพันธุกรรม (genetic instability) คือ มีความเสี่ยงต่อการกลายพันธุ์เพิ่มขึ้นในยีนอื่นๆหลายยีน ตามมา ตัวอย่าง DNA repair genes ที่สาคัญ เช่น BRCA1 and BRCA2 ในมะเร็งเต้านม, MLH1 และ MSH2 ในมะเร็งลำไส้ใหญ
Tumor suppressor gene มีหน้าที่ควบคุมการสร้างสัญญาณและฮอร์โมนในการหยุดการแบ่งเซลล์ เพื่อให้เกิดการซ่อมแซมสารพันธุกรรมก่อนจะส่งผ่านไปยังเซลล์รุ่นต่อไป หากเกิดการกลายพันธุ์ของTumor suppressor gene จะส่งผลให้การแสดงออกของยีนลดลงหรือขาดหายไป(Loss-of-function mutations) ยีนต้านมะเร็งที่มีความสาคัญและถูกศึกษามากที่สุดคือ ยีน TP53 ซึ่งควบคุมการสร้างโปรตีน p53 ที่มีบทบาท สาคัญอย่างมากในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ '
Proto-oncogene ยีนที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย มีหน้าที่ควบคุมการสร้างฮอร์โมนซึ่งออก ฤทธิ์ฉพาะเจาะจงต่ออวัยวะเป้าหมาย บางชนิดมีหน้าที่ในการควบคุมการสร้างตัวรับสัญญาณ (Signal receptor) และการถ่ายทอดสัญญาณลงไปในนิวเคลียส(Signal transduction) ซึ่งมีความสาคัญต่อการ เจริญเติบโตของเซลล์ตามปกติ สาหรับยีนก่อมะเร็ง (Oncogene) คื
สาเหตุของมะเร็ง
ความผิดปกติของเซลล์จนเกิดเป็นมะเร็งนั้นประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนต่อเนื่องกัน ซึ่งโดยมากจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงก็คือ การผ่าเหล่าของยีนที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มจานวนของเซลล์ดังที่ ได้กล่าวมาแล้วในขั้นต้น สาเหตุหรือปัจจัยที่ทาให้เกิดการผ่าเหล่าของยีนมีทั้งจากปัจจัยภายใน เช่น reactive oxygen species, reactive nitrogen species, reactive carbonyl species, lipid peroxidation products
-
-
โรคมะเร็งที่พบบ่อย
มะเร็งที่พบมากที่สุดในคนไทยเพศชาย 3 อันดับแรก คือ มะเร็งตับเป็นอันดับ 1 ตามมาด้วย มะเร็ง ปอด เป็นอันดับ2 และ มะเร็งลาไส้ใหญ่และทวารหนักเป็นอันดับ 3 ส่วนในคนไทยเพศหญิง อันดับ1 คือ มะเร็งปากมดลูก อันดับ2 มะเร็งเต้านม และ อันดับ3 มะเร็งตับ
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม ชนิดที่พบบ่อยที่สุด คือ มะเร็งที่มีต้นกำเนิดจากเซลล์ของท่อน้านม (milk-producing ducts) ที่เรียกว่า invasive ductal carcinoma พบประมาณร้อยละ 80 ของ Invasive Breast Cancer ส่วน มะเร็งที่มีกำเนิดจากเซลล์ของต่อมน้านม (Milk producing gland) ที่เรียกว่า invasive lobular carcinoma พบไม่บ่อย ประมาณร้อยละ 10 ส่วนที่เหลือซึ่งพบน้อยเป็นมะเร็งอื่นๆที่เกิดจากเซลล์ชนิดอื่นๆ ที่พบในบริเวณ เต้านม เช่น Phylloides tumor เกิดที่ connective tissue ของเต้านม ส่วนใหญ่ เป็น benign แต่มีส่วนน้อย ที่เป็น Malignant
-
อาการและอาการแสดง
- คลาได้ก้อนที่เต้านม (breast lump)
- ขนาดและรูปร่างของเต้านมเปลี่ยนแปลงผิดปกติไป
- มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังบริเวณเต้านม เช่น ผิวหนังบวมแดง อักเสบ คล้ายผิวส้ม - หัวนมบุ๋มยุบ จากเดิม (newly inverted nipple)
- มีสารคัดหลั่งผิดปกติจากหัวนม (abnormal nipple discharge)
ปัจจัยเสี่ยง
- มีประวัติเคยตรวจพบเซลล์เต้านมที่ผิดปกติ เช่น atypical hyperplasia of the breast หรือ เคย
-
- มีประวัติญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม เช่น มารดา พี่สาว น้องสาว
- มีการกลายพันธุ์ที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม เช่น BRCA1 and BRCA2 - เคยได้รับการฉายแสงบริเวณทรวงอก
-
- เป็นประจาเดือนครั้งแรกก่อนอายุ 12 ปี และ หมดประจาเดือนช้า
- ไม่มีบุตร หรือ มีบุตรคนแรกหลังอายุ 30 ปี
- การได้รับ Hormonal replacement therapy หลังหมดประจาเดือน
-
การรักษามะเร็งเต้านม
ประกอบด้วยการรักษาหลายรูปแบบ ทั้งการผ่าตัด การรักษาด้วยยาต้าน มะเร็ง การฉายแสง และแบบผสมผสาน ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกวิธีการรักษาของแพทย์ เช่น - ขนาด ตาแหน่ง และลักษณะของเซลล์มะเร็ง - ระยะโรคและการกระจายของมะเร็ง - อายุและสุขภาพของผู้ป่วย - ตัวรับฮอร์โมนของมะเร็ง - ภาวะก่อนหรือหลังหมดประจาเดือน - ปัจจัยที่บ่งบอกความรุนแรงของเนื้องอก เช่น ยีน HER2 (human epidermal growth factor receptor 2) 17
-
-