Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดไม่พบ ST Segment Elevation (NSTEMI) - Coggle…
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดไม่พบ ST Segment Elevation (NSTEMI)
พยาธิ
เป็นกลุ่มอาการที่คลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่มีST segment elevation แต่มี ST depression หรือ T wave inversionและพบ cardiac biomarkers positive ซึ่งแสดงถึงกล้ามเนื้อหัวใจตาย และเป็นกลุ่มที่มี ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิด Q-wave สาเหตุเกิดจากภาวะหลอดเลือดแข็ง (atherosclerosis) ทำให้เกิดการตีบแคบของ หลอดเลือดแดงหัวใจทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาด เลือดนำไปสู่การเกิดกล้ามเนื้อหัวใจเฉียบพลัน ตามมาปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ เกิดความผิดปกติ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง บุหรี่ โรคอ้วนลงพุง เพศชายอายุ40 ปี ขึ้นไป เพศหญิงอายุ 50 ปี ขึ้นไป หรือหมดประจำเดือน ผู้ที่ขาดการออกกำลังกายและภาวะเครียดเป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยงในผู้ป่วย
อายุ 61 ปี
เพศชาย
อาการ
รู้สึกแน่นและเจ็บหน้าอก
รู้สึกอึดอัดที่หน้าอกหรือลิ้นป
หายใจถี่ ๆ
วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน
เหงื่อออกขณะที่ร่างกายเย็น
รู้สึกวิตกกังวลมากผิดปกติ
ไอ หรือหายใจมีเสียง
มีอาการเหนื่อยมากผิดปกติโดยไม่มีสาเหตุ
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Heart Disease) เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดหัวใจขาดเลือด เฉียบพลัน โดยคราบพลัคที่เกิดขึ้นภายในหลอดเลือด ทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง เมื่อสะสม มาก ๆ เข้าก็จะอุดตันที่หลอดเลือดหัวใจโคโรนารีและทำให้เกิดภาวะหัวใจขาดเลือด
ภาวะหลอดเลือดหัวใจหดตัวอย่างรุนแรง (Coronary Artery Spasm) เกิดขึ้นจากการที่หลอดเลือดหัวใจโคโรนารีเกิดการหดตัวอย่างรุนแรงจนทำให้การไหลเวียนเลือด แต่ก็พบว่ามีความเกี่ยวข้องกับ การใช้ยาเสพติด ความเครียด หรืออาการเจ็บปวด การอยู่ในสถานที่ที่มีอากาศเย็นมาก และการสูบ บุหรี่
ภาวะขาดออกซิเจนในเลือด (Hypoxia)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
มีปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือด
ประวัติครอบครัวโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG)
การตรวจเลือด
Cardiac Troponin
การตรวจหาครีเอตินไคเนส-เอ็มบี (CK-MB)
การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiography)
เป็นการตรวจดูความผิดปกติ ของหัวใจขาดเลือดด้วยการฉีดสารทึบสีเข้าไปในหลอดเลือดหัวใจ จากนั้นแพทย์จะท าการ เอกซเรย์เพื่อดูว่ามีส่วนใดของหลอดเลือดอุดตันหรือตีบ
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiogram)
การรักษา
ให้ยาแอสไพรินเพื่อป้องกันการแข็งตัวของเลือด
ให้ยาไนโตรไกลเซริน (Nitroglycerin) เพื่อลดการทำงานของหัวใจ และช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดี
ขึ้น
ให้ออกซิเจน
รักษาอาการแน่นหรือเจ็บหน้าอก
ดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้
ชีวิตอย่างสม่ำเสมอและทำตามคำแนะนำแพทย์อย่างเคร่งครัด
การใช้ยา
การผ่าตัด
การวินิจฉัยในผู้ป่วย
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography)
Chest X-ray
Echocardiography พบ LVEF 35 % ,Diastolic dysfunction grade 1 ,LVH
ดูผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการในผู้ป่วย
เจ็บหน้าอก
หายใจเหนื่อย
ขา 2 ข้างบวมกดบุ๋ม 4 mm
ฟังเสียงปอดพบ Crepitation at lower lobe both lungs
AP Diameter : Lateral Diameter = 1 : 2
การรักษาในผู้ป่วย
On O2 Cannula 3 LPM Keep O2
Saturation ≥ 95 %
Restrict oral fluid 1,000
ml / day
ให้ยา