Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะและสรีรวิทยาของทารกแรกเกิด, นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ชั้นปีที่…
ลักษณะและสรีรวิทยาของทารกแรกเกิด
Respiratory and Blood circulation system
การหายใจครั้งแรกเกิดจากศูนย์ควยคุมการหายใจ Medulla oblongata
1.Chemical : CO2 เพิ่มขึ้น + Anoxia เกิขึ้นภายหลังสายสะดือถูกตัด
2.Sensory : สัมผัสและการจับต้องตัวทารกขณะคลอด และ Temp. สิ่งแวด้อมที่เย็นกว่า แสง เสียง
3.Mechanical/Physical : ทรวงอกทารกถูกบีบรัดจากช่องทางคลอด และการร้องของทารก
4.Themal : การเปลี่ยนอปลงของ T จากในครรภ์มารดาสู่ T ห้อง ร่างกายต้องใช้ O2 ในการเผาผลาญเพื่อให้เกิดพลังงานทำให้ระดับ O2 ลดลง
Foramen ovale : รูทะลุระหว่างหัวใจห้องบนขวา & ซ้าย (ปิดใน 6 ชม.ถึง 4 เดือน)
Ductus arteriosus ท่อติดต่อระหว่าง aorta กับ pulmonary artery (ปิดใน 2 - วัน ถึง 2 เดือน)
R : อาจไม่สม่ำเสมอ 40 - 60 /min
P : 100-180 เฉลี่ย 140 /min
BP : วันที่ 4 หลังคลอด 50/40 - 80/50 mmHg วันที่ 10 หลังคลอด เฉลี่ย 100/50 mmHg
Periodic breathing : การหยุดหายใจเป็นพัก ๆ ในช่วงสั้น ๆ แต่ไม่นานเกิน 5-10 sec
Apnea การหยุดหายใจมากกว่า 20 sec หรือ น้อยกว่า 20 sec มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเช่น bradycardia/มีอาการเขียว ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง
RBC
ทารกแรกเกิด 5-6 ล้าน cell/mm³ เมื่ออายุ
เมื่ออายุ 2-3 เดือน ลดลงมาอยู่ในระดับปกติ 4 ล้าน cell/cm³
Hb19.2 gm%
Hct. 45-50 %
ตับทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์ ส่งผลต่อกระบวนการขับ bilirubin และสร้าง Prothrombin และ Factor V,VII มีไม่มาพอ ทำให้มีเลือดออกง่ายและการแข็งตัวของเลือดช้า
WBC 15,000-45,000 cell/mm³ แล้วจะค่อย ๆ ลดลงเหลือ 10,000-15,000 cell/mm³ ใน 1 wk.หลังคลอด
blood volume ประมาณ 90 ml./น้ำหนักตัว 1 kg.
Alimentary system
ความจุกระเพาะอาหาร 10-20 cc. 1 เดือนหลังคลอด 150 cc. 1 ปีหลังคลอด >> 360 cc.
อาหารจะถูกย่อยผ่านขบวนการบีบรัดตัวของกล้ามเนื้อหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก การบีบตัวของลำไส้ใหญ่เป็นจังหวะ (peristalsis) และอาหารจะถูกย่อยหมดจากกระเพาะอาหารใน 2 ชม.ครึ่ง-3 ชม. ดังนั้นอาจมีอาการท้องอืดเกิดได้จากการที่กล้ามเนื้อกระเพาะอาหารยังเจริญได้ไม่เต็มที่
อาการสำรอกอาเจียน หรือรเอ อาจเกิดจากการที่หูรูดของกระเพาะอาหารส่วนบน (cardiac sphincter) ยังปิดไม่สนิท หรือมีลมปะปนเข้าไปในทางเดินอาหารขณะดูดนม
ร่างกายส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้ำและ electerlyte 70-80% ซึ่งส่วนใหญ่เป็นน้ำนอกเซลล์
อัตราการเผาผลาญโดยทั่วไปจะมากกว่าผู้ใหญ่ประมาณ 2 เท่า
ความต้องการใช้พลังงานวันแรกประมาณ 40-50 kcal/kg/day ในวันที่ 7 ขึ้นไป 100-120 kcal/kg/day
อายุ 2-3 เดือน มีการย่อยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวดีกว่าย่อยน้ำตาลหลายโมเลกุลและไขมัน
Urinary tract system
ปัสสาวะ
ถ่ายปัสสาวะตั้งแต่อายุครรภ์ 5 เดือน
หลังคลอดจะถ่ายปัสสาวะทันทีหรือภายใน 12-24 ชม.แรก แต่ไม่เกิน 48 ชม.
ปริมาณปัสสาวะช่วง 2-3 วันแรก ประมาณ 10-20 ครั้ง เนื่องจากขนาดของกระเพาะปัสสาวะเล็ก
ไต
ไตทำงานไม่เต็มที่ จำนวน Glomerulus เท่าผู้ใหญ่ แต่ Basement membrane ของหลอดเลือดฝอยที่ไตบางกว่าและจะหนาขึ้นเท่า ๆ กับวัยผู้ใหญ่เมื่อายุ 3 ปี
อัตราการกรองผ่าน Glomerulus ประมาณ 25-30 cc./min/พื้นที่ผิวกาย 1.73 ตารางเมตร
ปัสสาวะมีสีเหลืองอมชมพู หรือสีส้มอิฐ (brick dust urine) กระตุ้นให้ทารกดูนมแม่บ่อย ๆ ให้มารดาผลิตน้ำนมออกมาในปริมาณที่เพิ่มขึ้น และหากทารกได้รับนมแม่อย่างเพียงพอก็จะทำให้ปัสสาวะออกมาสีใสเป็นปกติ
Genital and Endocrine gland
ผลจากการกระตุ้นของ Prolactin ทำให้เต้านมแข็งและใหย่ โดยอาจมีน้ำนม (Witches milk) ออกมาด้วยในทารกเกิดครบกำหนด
ทารกเพศหญิง : ระดับของ HM.ที่ได้รับจากแม่ขณะอยู่ในครรภ์ที่ลดลงทันที อาจทำให้เกิดภาวะเลือดออกบริเวณอวัยวะเพศ (Infantile menstruation/Pseudo menstruation) จะหายได้เองภายใน 1-2 วัน
ทารกเพศชาย : อาจมี Crypotochiam คือลูกอัณฑะลงไปอยู่ในถุงอัณฑะเพียงข้างเดียวหรือไม่ลงทั้งสองข้าง
ระบบต่อมไร้ท่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว แต่อาจมีการทำงานยังไม่สมบูรณ์ ส่งผลต่อการควบคุมสมดุลสารน้ำและอิเลคโตไลท์ ความเข้มขนของกลูโตสในกระแสเลือด และการเผาผลาญกรดอะมิโน
Autoimmune system
Immunoglobulin หรือ Ig เป็น Antibody ส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับภูมิต้านทานของร่างกายมี 5 ชนิดคือ IgG,IgA,IgM,IgD และ IgE
ภูมิคุ้มกันที่ผ่านทางรกจากแม่สู่ลูกขณะอยู่ในครรภ์ (IgG) จะลดลงและหมดไปเมื่ออายุ 6 เดือน สามารถป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก หัด คางทูม ผีดาษได้
ภูมิคุ้มกันที่ได้จากน้ำนมเหลือง (Colostrum) คือ IgA สามารถป้องกันโรคไข้สันหลังอักเสบ คางทูม ไข้หวัด และอีสุกอีใส
ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นจาก Lymphocyte ที่เรียกว่า B cell เมื่อมีการติดเชื้อ (IgM) ทารกแรกเกิดสามารถสร้าง Gramma globulin ได้เองเมื่ออายุย่างเข้าสู่เดือนที่ 2 หลังคลอด และเมื่อเด็กอายุประมาณ 2 ปี จะมี IgM เท่าผู้ใหญ่
Body temperature
อุณหภูมิร่างกายประมาณ 36.5-37.4 °C
ควรจัดอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมระหว่าง 32-37.5 และรักษาอุณหภูมิกายไม่ให้ต่ำกว่า 36.5 °C
กลไกการควบคุมความร้อนของร่างกายที่ Hypothalamus ยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์ และกลไกการสั่นของเซลล์กล้ามเนื้อ (Shivering) มีน้อยทำให้อุณหภูมิร่างกายลดลงจนอาจเกิดภาวะ Hypothermia ได้ง่าย
พื้นที่ผิวกาย (Surface area) กว้างกว่าผู้ใหญ่เมื่อเทียบตามน้ำหนักตัว และไขมันใต้ผิวหนังน้อย ดังนั้นร่างกายทารกจึงมีการปรับตัว ด้วยวิธีสลายไขมันสีน้ำตาลมาสร้างความร้อน เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับร่างกาย รวมถึงการเผาผลาญในร่างกาย (Metabolism)
การสร้างความร้อนด้วยวิธีสลายไขมันสีน้ำตาล จะต้องใช้พลังงานและออกซิเจนเพิ่มขึ้นมาก ทำให้เสี่ยงต่อการขาดออกซิเจน (Hypoxia) ภาวะเลือดเป็นกรด (Metabolic acidosis) และระดับน้ำตาลในกระแสเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
Nervous system
สมองมีขนาด 2/3 ของผู้ใหญ่ หนัก 12% ของน้ำหนักตัว cellสมองจะมีครบตั้งแต่อายุครรภ์ 36 wks. จากนั้นจะเพิ่มเป็น 2 เท่าเมื่ออายุ 1 ปี และเพิ่มเป็น 3 เท่าเมื่อเด็กอายุ 5-6 ปี
การทำงานของระบบประสาทที่สำคัญสำหรับทารกแรกเกิดจะเป็น reflex แรกเริ่ม (Primitive basic reflex) ส่วนใหญ่เป็นระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะทำหน้าที่กระตุ้นการหายใจครั้งแรกของทารกแรกเกิด ช่วยควบคุมความเป็นกรดด่าง และอุณหภูมิของร่างกาย
นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ชั้นปีที่ 4 ห้อง A
รหัสนักศึกษา 61123301185