Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บ้านเรือนในวัฒนธรรมไทยและมุสลิม (สัปดาห์ที่8 19สิงหาคม64), 6310410125…
บ้านเรือนในวัฒนธรรมไทยและมุสลิม
(สัปดาห์ที่8 19สิงหาคม64)
เรือนมุสลิม(ภาคใต้)
ที่มา
-รูปแบบและลักษณะทางสถาปัตยกรรม เรือนพื้นถิ่นมลายู
-บ้าน ในภาษามลายูออกเสียงว่า รูมะฮ์ หรือ รูมอฮ์ (Rumah) จึงมีความหมายต่อจิตใจ วิถีชีวิต และความผูกพันธ์กับถิ่นฐาน
การจำแนกรูปแบบของเรือนมลายูผ่านรูปทรงหลังคา
1.หลังคาทรงจั่ว เป็นรูปแบบหลังคามลายูแบบจารีต หรือ เรือนหลังคายาว ช่วยระบายน้ำจากผืนหลังคาได้เร็ว เหมาะกับภูมิประเทศฝนตกชุก ในอดีตเรียกวัสดุที่ใช้มุงหลังคาจากใบจาก หลาวชะโอน หรือใบปาล์ม ว่า “อัททับ”(Attap) ในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล เรียกหลังคาทรงนี้ว่า “หลังคาทรงเมเละห์”(Meleh) ซึ่งน่าจะมาจากคำว่า “เปอเมเละห์” แปลว่า ไม้ที่เป็นขอบของจั่วหลังคา
2.หลังคาทรงลีมา คือ หลังคาทรงปั้นหยา โดย ”ลีมา” มาจาก “ลีมอ”ที่แปลว่า ห้า 5 สอดคล้องกับลักษณะหลังคาที่มี “ห้าสัน” หรือ “หลบหลังคาที่มี5แนว” เหมาะสมกับสภาพอากาศที่มีลมมรสุม และฝนตกชุก
3.หลังคาทรงบรานอ คือหลังคาทรงจั่วปั้นหยา ผสมระหว่าง ทรงจั่วกับทรงลีมา บางพื้นที่เรียกว่า “หลังคาปัตตานี” จากชื่อเรียก “บรานอ” คาดว่าได้รับอิทธิพลจากชาวฮอลันดา ในภาษามลายูเรียกว่า “บลันดา(belanda)” ยอดจั่วของหลังคามักถูกตกแต่งด้วยงานศิลปกรรม
เรือนไทย(ภาคกลาง)
ที่มา
เป็นเอกลักษณ์ความเป็นไทย สะท้อนให้เห็นถึงวิถีการดำเนินชีวิต วัฒนธรรม และประเพณีของคนไทย ตลอดจนภูมิปัญญาที่มีมาตั้งแต่อดีต
เรือนเครื่องสับ (เรือนไทยเดิม) คือเรือนพักอาศัยที่สร้างจากไม้จริง มีความประณีตเรียบร้อย และจะสร้างเรือนตามการใช้สอย โดยทั่วไปจะประกอบด้วย
เรือนเดี่ยว
ประกอบด้วยเรือนนอน ครัว ระเบียง และชาน
เรือนหมู่
มีเรือนนอนมากกว่าเรือนเดี่ยวหนึ่งหลัง มีชานเชื่อมถึงกัน มีเรือนครัว หอนั่ง หรือหอนก เรือนหมู่ เป็นเรือนสำหรับครอบครัวขยาย
เรือนคหบดี
หรือผู้มีฐานะทางสังคมสูง
องค์ประกอบของเรือน แบ่งเป็น3ส่วน
ส่วนที่1 เดี่ยวล่าง หรือเดี่ยวล่องถุน
รอด
พื้น
ตง
ส่วนที่2 เดี่ยวบน
ส่วนที่3 หลังคา
อกไก่
จันทัน
6310410125 นางสาวภารดี พรหมยก :star: