Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580), เป้าหมาย - Coggle Diagram
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง”
๑. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข
การรักษาความสงบภายในประเทศ
ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ
ทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็ง
ป้องกันและขจัดสาเหตุของประเด็น ปัญหาความมั่นคง
การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
รักษาความมั่นคงของประเทศชาติ
รักษาผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทั้งทางบกและทางทะเล
การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ
ป้องกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ
การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กร ภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
สําหรับการติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความมั่นคงแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม
๒. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
การเกษตรสร้างมูลค่า
เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
เกษตรปลอดภัย
เกษตรชีวภาพ
เกษตรแปรรูป
เกษตรอัจฉริยะ
อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
อุตสาหกรรมชีวภาพ
อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
ท่องเที่ยวสําราญทางน้ำ
ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
๓. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
ครอบครัว
สถานศึกษา
ศาสนา
ชุมชน
การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ปฐมวัย
วัยรุ่น
วัยแรงงาน
วัยผู้สูงอายุ
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
ครูยุคใหม่
ระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคมโลก
ดิจิทัลแพลตฟอร์ม
เป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
สร้างเส้นทางอาชีพ
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
รอบรู้ด้านสุขภาวะ
ป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ
สภาพแวดล้อมที่ดี
ระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัย
ชุมชนสร้างเสริมสุขภาวะที่ดี
การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ทักษะนอกห้องเรียน
พัฒนาระบบฐานข้อมูล
การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ
ส่งเสริมการออกกําลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐาน
ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ
การกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ
พัฒนาบุคลากรด้านการกีฬาและนันทนาการ
๔. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
ปรับโครงสร้างและแก้ไขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
สร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัย
พัฒนาพื้นที่บนฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
พัฒนากําลังแรงงานในพื้นที่
การเสริมสร้างพลังทางสังคม
ร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชา สังคมและภาคประชาชน
ความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรี
การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการ จัดการตนเอง
๕. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพ
อนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพในและนอกถิ่นกําเนิด
อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้ําลําคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติ
รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียว
ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
ปรับปรุง ฟื้นฟู และสร้างใหม่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้งระบบ
ฟื้นฟูชายหาดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติ
มุ่งเป้าสู่การลงทุนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็น เมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
พัฒนาความมั่นคงน้ำ พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกําหนดอนาคตประเทศ
๖. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่าง สะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยง การพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่
ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
ภาครัฐมีความทันสมัย
องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ
พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย
บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึก มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ
ภาครัฐมีการบริหารกําลังคนที่มีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม
บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทํางานเพื่อประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ
ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จําเป็น
การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชนโดยเสมอภาค
เป้าหมาย