Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 หลักการบริหารงานทั่วไปและการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 1 หลักการบริหารงานทั่วไปและการบริหารทางการพยาบาล
กระบวนการบริหารไว้ ๗ ขั้นตอน
คือ POSDCORB
S (Staffing) หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับคนในองค์กรการบริหารงานบุคคล (personnel management)
D (Directing) หมายถึง การอำนวยการ
O (Organizing) หมายถึง การจัดโครงสร้างของการบริหารงาน
Co (Co-ordination) หมายถึง การประสานงาน
R (Reporting) หมายถึง การบันทึกรายงาน
P (Planning) หมายถึง การวางแผน
B (Budgcting) การจัดทำงบประมาณการเงิน
ทฤษฎีการจัดการ (Management Theory)
ศตวรรษที่ ๒๐ ผู้นำและผู้ตามต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน นักทฤษฎี ได้แก่ Kurt Lewin, Rensis Likert, Blake and Mouton และ Douglas McGregor
ศตวรรษที่ ๑๘ Robert Owen ๑๗๗ด- ๘๕๘ ประกอบธุรกิจผ้าฝ้ายมีคนงาน จำนวน ๔๐๐-๕๐๐ คน Robert Owen เป็นนักบริหารให้ความสำคัญกับทรัพยากรมนุษย์ ให้ความสำคัญและใส่ใจ โดยจัดสิ่งแวดล้อมบรรยากาศการท่งานที่ดี ให้มีคุณภาพชีวิด เป็นรากฐานการจัดการเชิงพฤติกรรม
ศตวรรษที่ ๑๙ ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Leadership Theories) เป็นการพัฒนาในช่วงปี ค.ศ.๑๙๔๐- ๑๙๖๐ แนวคิดหลักของทฤษฎี คือ ให้มองในสิ่งที่ผู้นำปฏิบัติ
McGregor's ( ๑๙๐๖-๑๙๖๔ ) :
Theory X พื้นฐานของคน คือ ไม่ชอบทำงาน พื้นฐานคนขี้เกียจ อยากได้เงิน อยากสบาย เพราะฉะนั้นบุคคลกลุ่มนี้จำเป็นต้องคอยควบคุมตลอดเวลา และต้องมีการลงโทษมีกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด
Theory Y เป็นกลุ่มที่มองในแง่ดี เชื่อว่ามนุษย์มีความตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบเต็มใจทำงาน มีการเรียนรู้ มีการพัฒนาตนเอง พัฒนางานมีความคิดสร้างสรค์ และมีศักยภาพในตนเอง
Kurt Lewin's Studies Lewin ๑๘๙๐-๑๙๕๖ ลักษณะการทำงานผู้นำเป็น ๓ แบบ
๑.นำแบบอัตถนิยมหรืออัตตา (Autocratic Leaders) จะตัดสินใจด้วยตนเอง ไม่มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์แน่นอนขึ้นอยู่กับตัวผู้นำเอง คิดถึงผลงานไม่คิดถึงคน บางครั้งทำให้เกิดศัตรูได้ ผู้นำลักษณะนี้จะใช้ได้ดีในช่วงภาวะวิกฤตเท่านั้น ผลของการมีผู้นำลักษณะนี้จะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่มีความเชื่อมั่นในตัวเอง และไม่เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
๒. ผู้นำแบบประชาธิปไตย (Democratic Leaders) ใช้การตัดสินใจของกลุ่มหรือให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ รับฟังความคิดเห็นส่วนรวม ทำงานเป็นทีมมีการสื่อสารแบบ 2 ทาง ทำให้เพิ่มผลผลิตและความพึงพอใจในการทำงาน บางครั้งการอิงกลุ่มทำให้ใช้เวลานานในการตัดสินใจ ระยะเวลาที่เร่งด่วนผู้นำลักษณะนี้ไม่เกิดผลดี
๓. ผู้นำแบบตามสบายหรือเสรีนิยม (Laissez- Faire Leaders) จะไม่มีการกำหนดเป๋าหมายที่แน่นอน ไม่มีหลักเกณฑ์ ไม่มีระเบียบ จะได้ผลผลิตต่ำ การทำงานของผู้นำลักษณะนี้เป็นการกระจายงานไปที่กลุ่ม ถ้ากลุ่มมีความรับผิดชอบและมีแรงจูงใจในการทำงานสูงสามารถควบคุมกลุ่มได้ดี มีผลงานและความคิดริเริ่ม
ความหมายของการบริหาร
Tausky Curt (1978) กล่าวว่า กระบวนการที่จะนำความเรียบร้อยเข้าไปแก้ไขความยุ่งเหยิงที่เกิดขึ้นในระบบใดระบบหนึ่ง
สมพงศ์ เกษมสิน (2526) กล่าวว่า การใช้ศาสตร์ และศิลป์ นำเอาทรัพยากรการบริหาร มาประกอบตามกระบวน การบริหาร ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
Koontz (1968) กล่าวว่า การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยการอาศัยปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัตถุสิ่งของเป็นอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานนั้น
สถาบันดำรงราชานุภาพ (25404) กล่าวว่า การบริหารจัดการ หมายถึง ศิลปัในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น
Gen
Gen. X อายุตั้งแต่ : 38 - 54 ปี เกิดช่วง : 2508 - 2524 อุปนิสัย : กระดีอรือลัน ชอบแข่งขัน ชิงดีชิงเด่น สนใจเทคโนโลยีสนใจเรื่องส่วนนมากกว่าส่วนรวม เป็นนักบริโภคนิยม แต่ยังห่วงครอบครัว ภักดีต่อบุคคลมากกว่าองค์กร
4.Gen, Y อายุดั้งแต่ : 24 - 37 ปี เกิดช่วง : 2525 - 2538 อุปนิสัย : ฉลาดในเทคโนโลยี มีความเป็นอิสระและโลกส่วนตัวสูง ชอบคิดนอกกรอบ มีความทะเยอทะยานสูง ชอบงานที่สนุกท้ทาย มีความอดทนต่ำ พูดจาตรงไปตรงมา
Baby boomers อายุดังแต่ : 55-72 ปี เกิดช่วง : 2490 - 2507 อุปนิสัย : สู้งานหนัก มุ่งความสำเร็จ ภักดีต่อองค์กรต้องการ ทำงานในองค์ที่มีชื่อเสียง ทุ่มเทเพื่อตำแหน่งต้องการการยกย่องชมเชย ภักดีต่อองค์กร
Gen.Z อายุตั้งแต่ . 10 - 23 ปี เกิดช่วง : 2539 - 2552 อุปนิสัย : อยากได้ผลลัพธ์ทันที รอคอยไม่ได้ เวลาส่วนใหญ่อยู่ บนโลกอินเทอร์เน็ต ตัดสินใจไปตามกระเส เรียนเพื่อ ความสนุกไม่ได้คิดว่าจะเอาไปใช้ประโยชน์ อยากรู้ใน สิ่งที่ตนตั้งเป้าหมายเท่านั้น ไม่สนใจวัฒนธรรมดั่งเดิมติดเพื่อนและคิดว่าเพื่อนช่วยได้ทุกเรื่องเมื่อมีปัญหา เป็นยุคแห่งการเรียกร้องสิทธิ
1.Builders อายุตั้งแต่ : 73 ปีขึ้นไป เกิดก่อน : 2489 อุปนิสัย : ขยัน อดทน ครอบครัวเข้มแข็ง เคร่งขนบประเพณีภักดีต่อองค์กร
6.Gen.Alpha อายุตั้งแต่ : 9 ปีหรือน้อยกว่าเกิดหลัง : 2553 หรือ 2010 วัยนี้กำลังเป็นเด็กอนุบาลที่เกิดจากพ่อแม่ที่มีอายุมากมีลูกน้อย มีเงินทองที่ไม่ต้องดิ้นรนมากเท่ารุ่นอื่น สัมผัสเทคโนโลยีตั้งแต่เกิด ความอดทนต่ำ
ระบบสุขภาพและการเข้าถึงบริการ
3) ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ นั้นสูงขึ้นทุกปี ในขณะนี้ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาพยาบาลและผลของการใช้จ่ายคุณภาพด้านสุขภาพก็ไม่สัมพันธ์กัน คือเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้นแต่ภาวะสุขภาพไม่ได้ดีขึ้น
4.ระบบบริการสุขภาพกับการพยาบาลได้พยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพ ซึ่งการดูแลสุขภาพให้ดำรงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดีนั้นพยาบาลจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสุขภาพและการเข้าถึงบริการเพื่อที่จะได้ทำหน้าที่หลักครอบคลุมทั้งการรักษาพยาบาล
2) ปัญหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบริการ สืบเนื่องจากการกระจายทรัพยากรสาธารณ์สุขและบริการสาธารณสุข ที่ไม่เท่าเทียมกันทำให้ประชาชนมาคั่งอยู่ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่
ระบุบทบาทพยาบาลกับการบริการสุขภาพได้
1.ความไม่เท่าเทียมกันในการกระจายทรัพยากรสาธารณสุขและบริการสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลฉบับบูรณาการ 6 หมวด
2.ทรัพยากร และการจัดการ
3.กระบวนการสุขภาพ
1.ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพ
การนำองค์กร
ทิศทางนโยบาย
4.การรักษามาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ
5.สิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กร
6.การดูแลรักษาผู้ป่วย
การทำงานเป็นทีมในการดูแลผู้ป่วย
การเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ป่วยและครอบครัว
การประเมินและการวางแผนดูแลรักษาผู้ป่วย
กระบวนการให้บริการ/ดูแลผู้ป่วย
การบันทึกข้อมูลผูป่วย
การเตรียมจำหน่ายและการดูแลต่อเนื่อง
สิทธิของประชาชนตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
3.สิทธิได้รับบริการสาธารณสุขในกรณีฉุกเฉินที่สถานบริการอื่นๆได้นอกเหนือจากหน่วยบริการที่ลงทะเบียนไว้
4.สิทธิในการร้องเรียนเมื่อได้รับบริการสาธารณสุขที่ไม่ได้มาตรฐาน
2 สิทธิเลือกหน่วยบริการประจำตัวที่มีมาตรฐานและสะดวกในการเข้ารับบริการ
5.สิทธิได้รับการช่วยเหลือเยียวยาเมื่อมีความเสียหายจากการเข้ารับบริการสาธารณสุข
1.สิทธิเข้ารับบริการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ
6.สิทธิในการมีส่วนร่วมกับการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ
สิทธิประโยซน์ในการรับบริการสุขภาพภายใต้นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค
บริการที่ต้องร่วมจ่าย 30 บาททุกครั้ง
ค่าอาหารและค่าห้องสามัญ
ค่ายาและเวชภัณฑ์ตามกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติ
รักษาโรคจิตที่ไม่เกิน 15 วัน
การตรวจวินิจฉัย การรักษา ฟื้นฟู สมรรถภาพทางการแพทย์
การจัดส่งเพื่อรักษาพยาบาลระหว่างหน่วยบริการ
บริการทางแพทย์ที่ไม่อยู่ในความคุ้มครอง
การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
โรคจิตที่ต้องรับการรักษาเป็นผู้ป่วยในเกิน 15 วัน
บริการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
การเยี่ยมบ้านและดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
การให้คำปรึกษา
การดูแลสุขภาพเด็ก และพัฒนาการ
การตรวจสุขภาพประชาชนทั่วไป
ทฤษฎี
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล
แนวโน้มทางการพยาบาลและการบริหารทางการพยาบาล
หลักการบริหารงานทั่วไป
ประกอบด้วย การวางแผน (Planning), การจัดองค์กร (Organizing),การจัดบุลากร (Staffing) ,การสั่งการ (Leading / Directing) หรือการการใช้งบประมาณ (Luther Gulickและ Urwick) ซึ่งจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยากรขององค์กร (๖ M's) เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
แนวคิดทฤษฎีการบริหาร แบ่งได้ 3 กลุ่ม
2ทฤษฎีและแนวความคิดดั้งเดิมแบบสมัยใหม่ (Neo - Classical Theoryof Organization)
3.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบสมัยปัจจุบัน (Modern Theory of Organization) ซึ่งทั้งหมดพัฒนาตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป
1.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบดั้งเดิม (Classical Theory)
ปัจภัยสำคัญการบริหารที่สำคัญมี 4
อย่าง ได้แก่
คน (Man)
เงิน (Money)
วัสดุสิ่งของ(Materials)
การจัดการ (Management)
แผนพัฒนาสุขภาพจิต ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 9
พันธกิจ -ผลิต พัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีด้านสุขภาพจิต เพื่อให้บริการได้มาตรฐานมีคุณภาพมีความเสมอภาคเป็นธรรม ทันต่อสถานการณ์
วัตถุประสงค์
ㆍ เพื่อลดอัตราป่วยทางจิตของประชาชน
ㆍเพื่อลดปัญหาสุขภาพจิตของประชาชน
ㆍ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริกรสุขภาพจิตอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพจิตประชาชน -ประชาชนมีความตระหนักและสามารถดูแลสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้รวมทั้งสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพจิตที่มีมาตรฐานอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม
ยุทธศาสตร์
-การสร้างระบบการส่งผ่านความรู้สุขภาพจิตแก่
ประชาชน
-การพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต
-การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพจิตในชุมชน
-การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต
-การพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพจิต
-การพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร