Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี - Coggle Diagram
บทที่ 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.ทฤษฎีการชน
2.พลังงานก่อกัมมันต์
อนุภาคต้องมีการชนกันในทิศทางที่เหมาะสม จึงจะทำให้เกิดพลังงานสูงพอที่จะทำให้เกิดปฎิกิริยาได้
พลังงานจลน์รวมต่ำสุดที่ทำให้โมเลกุลของสารตั้งต้นชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาได้
เป็นค่าคำนวณที่ได้จากการทดลอง
เป็นค่าเฉพาะปฎิกิริยา
ไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานของปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเมื่อ
1.มีการชนโมเลกุลสารตั้งต้น
2.ทิศทางการชนเหมาะสม
3.ชนแล้วพลังงานต้องมากพอที่จะเรียงอะตอมใหม่
4.พันธะเดิมของสารตั้งต้นสลายเกิดพันธะใหม่ของสารผลิตภัณฑ์
ปฏิกิริยาเกิดช้า/เร็วขึ้นอยู่กับ
1.จำนวนอนุภาค
มีมากจะเกิดปฏิกิริยาเร็ว
มีน้อยจะเกิดปฏิกิริยาช้า
2.พลังงานก่อกัมมันต์
มีมากจะเกิดปฏิกิริยาช้า
มีน้อยจะเกิดปฏิกิริยาเร็ว
ทฤษฎีเชิงถูกกระตุ้น
ปฏิกิริยาดูดความร้อน
สารตั้งต้นมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ ทำให้อุณหภูมิลดลง
ปฏิกิริยาคายความร้อน
สารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น
กลไกการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นหลายขั้นตอนอย่างต่อเนื่องตามลำดับ
พลังงานก่อกัมมันต์จะมีหลายค่า แต่มีพลังงานของปฏิกิริยาแค่ค่าเดียวและขั้นตอนที่มีพลังงานก่อกัมมันต์สูงสุดเป็นขั้นตอนพิจารณาอัตราการเกิด
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.ความเข้มข้น
-สารตั้งต้นมีความเข้มข้นมากอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว
-สารตั้งต้นมึความเข้มข้นน้อยอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเกิดช้า
5.อุณหภูมิ
-อุณหภูมิเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
-อุณหภูมิต่ำอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะช้า
4.ตัวหน่วงปฏิกิริยา
ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดช้าลงเนื่องจากตัวเร่งจะช่วยในการเพิ่มพลังงานกระตุ้น (เพิ่มEa)
3.ตัวเร่งปฏิกิริยา
ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขั้นเนื่องจากตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยลดพลังงานกระตุ้น (ลดEa)
จะช่วยตั้งแต่เริ่มปฏิกิริยาแต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะกลับมาเป็นสารเดิม
2.พื้นที่ผิว
พื้นที่ผิวสัมผัสมากอัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดเร็ว
พื้นที่ผิวสัมผัสน้อยอัตราการเกิดปฎิกิริยาเกิดช้า