Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรวิทยา - Coggle Diagram
มาตรวิทยา
-
มาตรวิทยา
คืออะไร?
-
มาตรฐานการวัด
คือ วัตถุ ระบบ หรือการทดลองใดๆ ที่มีนิยามความสัมพันธ์กับหน่วยวัดและปริมาณทางกายภาพ ซึ่งถือเป็นค่าอ้างอิงหลักในระบบการวัดและชั่งตวง โดยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ อันได้แก่ มาตรฐานปฐมภูมิ มาตรฐานทุติยภูมิ และมาตรฐานขั้นใช้งาน
-
-
ความไม่แน่นอนของการวัด
ความไม่แน่นอนของการวัด (Uncertainty of Measurement) คือ สิ่งที่บ่งบอกความไม่สมบูรณ์ของปริมาณที่ถูกวัด จากขั้นตอนการสอบกลับ ซึ่งจะมีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสามารถในการวัดของแต่ละห้องปฏิบัติการ เป็นสิ่งที่บ่งบอกคุณภาพของการวัดว่าน่าเชื่อถือได้ดีเพียงใด การรายงานความไม่แน่นอนของการวัดจะต้องรายการพร้อมกับผลของการวัดเสมอ เพื่อจะให้เปรียบเทียบค่าที่ได้จากการวัดกับเกณฑ์มาตรฐานที่ยอมรับการบอกค่าความไม่แน่นอนจะต้องบอกค่าที่วัดได้ ± ค่าความคลาดเคลื่อน พร้อมบอกระดับความเชื่อมั่นเป็นร้อยละ เช่น ผลการวัดความยาวของตัวต้านทานที่มีค่าระบุ 1 kΩ คือ 1,000.001 Ω มีค่าความไม่แน่นอน 0.001 Ω การรายงานผลการวัดจะอยู่ในรูป {\displaystyle 1,000.001\Omega \pm 0.001\Omega }{\displaystyle 1,000.001\Omega \pm 0.001\Omega } ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% Y = y ± U
Type A นั้น จะได้มาจากการที่เรา ทำการวัดซ้ำๆ โดยใช้เครื่องมือ วิธีการ และ ผู้ทดสอบ เดิม โดยจะดูค่า Replete ability ใช้หลักสถิติ และการกระจายตัวแบบ Normal Curve (กระจายตัวแบบระฆังคว่ำ) โดยเริ่มประเมินดังนี้
-
โดย SE นี้จะเป็นค่าที่ใช้ คำนวณ ค่าความไม่แน่นนอน ของ Type A ณ จุดวัดนั้นๆ มีค่าความน่าจะเป็นที่ 1s (K=1) หรือ ~68%
Type B นั้นจะได้จากการประเมิน ค่าความไม่แน่นอน ของเครื่องมือวัดนั้นๆ โดยจะประเมินต่างกันไปตาม ชนิดของการสอบเทียบ (โดยในที่นี้จะเน้นถึงการสอบเทียบ) รวมถึง Standard ที่นำมาใช้ด้วย โดย สามารถดูเพิ่มเติมได้จากโดยค่า Uncertainty ของ STD ที่ได้จาก การอ่านค่าใน Certificate
ค่า Uncertainty ที่ครอบคลุมจุดทดสอบของเครื่องมือวัดนั้น (ตัว Standard: STD)
ค่า Resolution ของเครื่องมือที่ถูกสอบเทียบ (Unit Under Calibration: UUC)
-
การสอบเทียบ
การสอบเทียบ (Calibration) หมายถึง การดำเนินการเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าที่เครื่องมือวัดบอก หรือระบบการวัด หรือค่าที่แสดงโดยเครื่องวัดกับค่าจริงที่ยอมรับร่วมกัน (Conventional True Value) (VIM 6.11) ว่าคลาดเคลื่อนไปมากเท่าใด โดยเริ่มจากการสอบเทียบเครื่องมือกับเครื่องมือมาตรฐานที่คลาดเคลื่อนน้อยกว่า รวมถึงการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานกับเครื่องมือที่มาตรฐานสูงกว่า จนถึงการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสูงสุดกับมาตรฐานแห่งชาติ หรือมาตรฐานระหว่างประเทศ เมื่อเสร็จสิ้นการสอบเทียบจะมีการออกใบรายงานผลการสอบเทียบที่รายงานค่าความบ่ายเบนหรือค่าแก้พร้อมค่าความไม่แน่นอนของการวัด
-