Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แท้จริง
ซอฟต์แวร์
ฮาร์ดแวร์
เฟิร์มแวร์(Firmware)
หรือผสมผสานกันก็ได้
เป้าหมายการทำงานของ OS
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แท้จริง
ซอฟแวร์ OS
OS ที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
อะไรคือระบบปฏิบัติการที่แท้จริง
ฮาร์ดแวร์ OS
ที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนหนึ่งของฮาร์ดแวร์ของเครื่องด้วย มีหน้าที่เช่นเดียวกัน
ข้อดี
ในการสร้างฮาร์ดแวร์ OS ก็เพราะมันสามารถทำงานได้รวดเร็วกว่าซอฟต์แวร์ OS
ข้อเสีย
การปรับปรุงแก้ไข OS นั้นยุ่งยากอาจำทำไม่ได้ นอกจากนี้ยังมีราคาแพงอีกด้วย การเปลี่ยนแปลงครั้งหนึ่ง นั่นหมายถึง การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ก็ว่าได้
เฟิร์มแวร์ OS
OS ที่เขียนขึ้นโดยใช้คำสั่งไมโคร ทำให้มีความเร็วสูงกว่าซอฟต์แวร์ OS แต่ยังช้ากว่า ฮาร์ดแวร์ OS การแก้ไขเฟิร์มแวร์ OS ค่อนข้างยากและค่าใช้จ่ายมาก แต่ยังถูกว่าการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ OS
นิยามของระบบปฏิบัติการ
Resource allocator
บริหารการจัดสรรทรัพยากร เช่น การจัดการฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) หน่วยความจำ (Memory) เครื่องพิมพ์ (printer) ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเต็มที่
Control program
ควบคุมการเอ็กซีคิวส์ (Execute) โปรแกรมของผู้ใช้ และการทำงานของอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูล
Kernel (แก่นแท้)
โปรแกรมที่ทำงานอยู่ตลอดเวลาบนคอมพิวเตอร์(ในระดับฮาร์ดแวร์ของเครื่อง)
ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ถ้าเราแบ่งส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ส่วนของเครื่อง
ระบบปฏิบัติการ
โปรแกรมประยุกต์และผู้ใช้
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุ่นที่ 0
ยังไม่มีระบบปฏิบัติการ (ค.ศ. 1940)
ระบบคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆ เช่น ENIAC นั้นยังไม่มีระบบปฏิบัติการ การสั่งงานจะทำด้วยมือทุก ขั้นตอน เริ่มแรกโปรแกรมเมอร์
รุ่นที่ 1
(the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (ค.ศ. 1950)
ด้วยเหตุนี้ระบบปฏิบัติการจึงถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำงานชิ้นนี้แทนมนุษย์ซึ่งเรียกว่าเป็น ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing systems) นั่นคือ
รุ่นที่ 2
(the second generaiton) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (ค.ศ. 1960)
ในยุคนี้ OS สามารถที่จะทำงานในลักษณะมัลติโปรแกรมมิ่ง(Multiprogramming) และเป็นจุดเริ่มต้นของระบบมัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing)
รุ่นที่ 3
(the third generation) ระบบปฏิบัติการเอนกประสงค์ (กลาง ค.ศ ถึงกลาง ค.ศ. 1970)
OS ในยุคนี้ถูกออกแบบมาให้สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบในรุ่นเดียวกัน และใช้ได้กับงาน หลาย ๆ ประเภท ไม่ได้เจาะจงลงไปที่ลักษณะงานใดงานหนึ่ง ทั้งนี้เป็นเพราะเหตุผลทางการค้า ผู้เขียนโปรแกรม OS ต้องการยอดขายให้ได้มาก จึงเขียน OS ให้ใครก็ได้สามารถใช้ OS ของเขาได้ และใช้กับงานหลายประเภทได้ ส่งผลให้ OS มีขนาดใหญ่ ทำงานช้าลงและแพงขึ้น
รุ่นที่ 4
(the forth generation) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (กลาง ค.ศ ถึงปัจจุบัน)
เทคนิคการเขียนโปรกรม OS ในรุ่นที่ 3 เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในยุคนี้ OS จึงถูกพัฒนาให้มีความสามารถในงานพิเศษอื่นๆ เพิ่มขึ้น ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) ระบบนี้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นโดยผ่านทางเทอร์มินอลชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายและกระจายไปตามจุดต่าง ๆ เช่นภายในอาคารสำนักงานภายในจังหวัด และทั่วโลก ซึ่งทำให้สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงระยะทาง และชนิดของคอมพิวเตอร์