Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ, image, image, image, image, image, image,…
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดปัญหาการใช้ยา
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้สูงอายุ ได้แก่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่
ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุ
2.1) การใช้ยาด้วยตนเอง (self-medication)
เช่น การซื้อยาตามร้านยา (over the counter)
การใช้อาหารเสริมบำรุงสุขภาพ และการใชยาทางเลือก
และสมุนไพรต่างๆ (complementary and alternative medicines)
2.2) ความร่วมมือในการใช้ยา (medication adherence) ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวของกับการใชยาตามคำสั่งการรักษาของแพทย์
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุดังกล่าวข้างต้นมี 3 ด้าน
2) ด้านที่เกี่ยวกับบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ
ได้แก่ ผู้ดูแล ครอบครัว และบุคลากรทางการแพทย์
3) ด้านปจจัยอื่น คือ ความเจ็บป่วยความครอบคลุมของระบบ
ประกันสุขภาพที่ผูสูงอายุมีและอุปสรรคเกี่ยวกับการเดินทางไปรับยา
1) ด้านที่เกี่ยวกับผูสูงอายุ ได้แก่ อายุ เพศ รายได้ สถานภาพสมรสระดับการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลวิทยาในผู้สูงอายุ (Phamacologicalchang in elderly)
1) เภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic)คือ การศึกษาถึงวิธีที่การที่ร่างกายจัดการกับยาที่ได้รับเข้า
1.2) การกระจายตัวของยา (drug distribution)
1.3) เมตะบอลิซึมของยา (drug metabolism)
1.1) การดูดซึมยา (drug absorption)
1.4) การขับถ่ายยาทางไต (renal excretion)
2) เภสัชพลศาสตร์ (Phamacodynamic change)
คือการศึกษาการออกฤทธิ์ของยาตอร่างกาย
(what drug does to the body)
กลไกที่ทำให้กิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์คือฤทธิ์ในการรักษา และผลที่ไม่พึงประสงค์ คือ อาการข้างเคียงและพิษของยา
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดผลข้างเคียง
หรืออันตราย ยาที่เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างยา
และการพยาบาล
ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial drugs)
ผลข้างเคียง ค่าครึ่งชีวิตนานเป็น 2 เท่าจึงมีพิษต่อไตมาก
การพยาบาล
พยาบาลควรให้อย่างช้าๆก็ระวังอาการแสดงของไตวาย
ชื่่อยา aminoglycoside group (gentamicin,kanamicin)
ยาระงับปวดและลดการอักเสบ
(analgesic and anti-inflammatorydrugs)
ผลข้างเคียง กดศูนย์การหายใจภายในระบบ
ทางเดินอาหารพิษต่อไตและตับ
การพยาบาล
ควรติดตามวัดสัญญาณชีพโดยเฉพาะการหายใจ
สังเกตอาการเกิดแผลในทางเดินอาหาร
ตรวจทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับตับ ไต
ชื่่อยา analgesic and antiinflammatory
ยาต้านโรคจิตและโรคซึมเศร้า (antipsychotic annd antidepressant drugs)
ชื่อยา amitriptylline
ผลข้างเคียง Postural hypertension ความจำเสื่อมเฉียบพลัน
การพยาบาล
พยาบาลควรระวังอาการ postural hypotension หลงลืม
ชื่อยา lithium
ผลข้างเคียง พิษต่อระบบประสาทเช่น สับสน เพ้อคลั่ง ชัก
การพยาบาล
ห้ามใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายจากหลอดเลือดอุดตัน
ยาลดความดันโลหิตสูง (antihypertensive agent)
การพยาบาล
ควรติดตามระดับความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ
เพราะระหว่างการพลัดตกหกล้ม
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำลงขณะเปลี่ยนท่านั่งนอนมาเป็นยืนส่งผลให้เกิดการพลัดตกหกล้มอ
ชื่่อยา ACE-inhibitors
ยาที่มีผลต่อหัวใจเเละหลอดเลือด
(cardiovascular drugs)
ชื่่อยา beta blocker
ผลข้างเคียง เลือดไปเลี้ยงแขนขาลดลงลดความสามารถ
ในการขยับแขนขา
การพยาบาล
พยาบาลควรแนะนำโดยกระตุ้นให้ผู้สูงอายุออกกําลังกาย
ชื่่อยา calcium chanel blocker
ผลข้างเคียง ไม่มีจึงควรแนะนำ ให้ใช้ยากลุ่มนี้ได้
การพยาบาล
ให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำมากป้องกันท้องผูก
ชื่่อยา thaiazides
การพยาบาล
ถ้าจำเป็นต้องใช้ยากลุ่มนี้พยาบาลควรสังเกตภาวะโพแทสเซียมต่ําได้แก่ท้องผูกอ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรงหัวใจหยุดเต้นสังเกตภาวะน้ำตาลในเลือดได้แก่ปัสสาวะบ่อยกายน้ำเหนื่อยกรดยูริคสูง ได้แก่ ปวดบวมข้อต่างๆ
ผลข้างเคียง โปรแตสเซียมต่ําน้ำตาลในเลือดและกรดยูริคสูง
หน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ
ชื่่อยา digoxin
ผลข้างเคียง หัวใจเต้นผิดจังหวะทำให้เสียชีวิต
การพยาบาล
ยาคุมที่ทำให้หัวใจเต้นช้าลง พยาบาลควรตรวจวัดชีพจรของผู้ป่วยโดยเฉพาะการเต้นของหัวใจ
ยากันชัก (anti convulsant)
ผลข้างเคียง ทำให้เกิดภาวะพร่องวิตามินดีเกิดกระดูกเปราะ
ชื่อยา Phenobarbital
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic agent)
ผลข้างเคียง
ภาวะน้ำตาลต่ำ
ภาวะโซเดียมต่ำ
ขาดสารอาหารและแร่ธาต
การพยาบาล
ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงกลุ่มยานีหากจำเป็นต้องใช้ยาพยาบาลควรสังเกตอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเช่น ตัวเย็นชีพจรเบาเร็วช็อกหมดสติ สังเกตอาการแสดงโซเดียมในเลือดต่ำ ได้แก่อ่อนเพลียกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึม สับสน หมดสติ
ชื่่อยา chlorpropamide
ยานอนหลับ
(hypnotic drugs)
ผลข้างเคียง ง่วงงุนงง สับสน กดประสาทส่วนกลาง
กดศูนย์การหายใจ
การพยาบาล
ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ควรหลีกเลี่ยงยาคุมนี้เพราะอาจทำให้สับสนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุโรคปอด เพราะทำให้กดการหายใจจนอาจหยุดหายใจได้
ชื่่อยา benzodiazepines
barbiturates
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
2) การใช้ยาหลายชนิดร่วมกันหลายขนาน (polypharmacy)
ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาของยาต่อผู้ป่วยและการเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยาแต่ยาที่ส่งผลให้ฤทธิ์ของยาเพิ่มขึ้นหรือลดลง
3) ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้ยา (human error)
การซื้อยามารับประทานเองรับประทานยาที่หมดอายุเนื่องจากไม่มีความรู้ในการอ่านวันหมดอายุ หรือรวมยาหลายชนิดไว้ด้วยกันความเชื่อเรื่องการรับประทานยาสมุนไพร
1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยา (adverse drug reaction : ADR)
แนวปฏิบัติของพยาบาลในการสูงเสริมการใช้ยาอย่างถูกต้องในผู้สูงอายุ
15 จัดโปรแกรมการสอนเพื่อให้ความรู้
เกี่ยวกับการใช้ย่าอย่างถูกต้องสมเหตุสมผล
14 ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีส่วนสนับสนุนการดูดซึมยา การกระจายตัวของยา หรือป้องกันการเกิดผลข้างเคียงจากยา
13 ประเมินและทบทวนการบริหารยาของผู้สูงอายุ และผู้ดูแล
11 หากพยาบาลประเมินพบว่าผู้สูงอายุมีอาการแสดงจากผลข้างเคียงของการใช้ยา ควรดำเนินการส่งต่อข้อมูล
แก่แพทย์และเภสัชกรเพื่อช่วยแก้ปัญหา
10 แนะนำผู้สูงอายุและญาติให้ปรึกษาแพทย์และเภสัชกรทุกครั้งไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
12 ส่งเสริมการรักษาจากการไม่ใช้ยาผู้สูงอายุบางรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม และ ปัญหาด้านพฤติกรรม
9 ประเมินครอบครัวผู้ดูแลที่ใกล้ชิดผู้สูงอายุ เกี่ยวกับความรู้ของการใช้ยาพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา
แก่ ผู้ดูแล
8 จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
7 อธิบายเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพและการหมดอายุของยาเช่น กลิ่น สี รส ความชื้น รูปทรงที่เป็นแปลง ลักษณะเม็ดยา ความเหนียว ป้ายบอกวันหมดอายุ
6 อธิบายความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
5 ให้ความรู้เกี่ยวกับจุดประสงค์ในการให้ยาแต่ละชนิดการออกฤทธิ์ของยาอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
4 ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวัยสูงอายุที่ส่งผลต่อกระบวนการดูดซึม การกระจายตัวของยา เพื่อให้เกิดความตระหนักต่อการใช้ยาที่ปลอดภัย
3 ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้ยาหลายชนิด
ค่าใช้จ่ายและใช้ยาสมุนไพร
2 ประเมินความเข้าใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการใช้ยา
เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการบริหารยา
สำหรับผู้สูงอายุ
1 ประเมินเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาของผู้สูงอายุ
อย่างครอบคลุม ด้วยการซักประวัติเกี่ยว
กับการใช้ยาในประเด็นต่างๆ
นางสาวยุพาวดี แพงบุบผา 621201148