Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tumor, Cancer and Neoplasm - Coggle Diagram
Tumor, Cancer and Neoplasm
Tumor
เป็นก้อนเนื้อที่เกิดจากการบวมของเนื้อเยื่อ(Tissue Swelling) แต่โดยทั่วไปแล้วถูกนำมาใช้ในความหมายว่า เป็นก้อนเนื้องอก
-
Cancer
เนื้องอกร้ายหรือมะเร็ง เป็นโรคของเซลล์ที่มีความผิดปกติในระดับพันธุกรรม (genetic aberration) ทำให้มีการเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนของเซลล์อย่างผิดปกติ และอยู่นอกเหนือควบคุมได้
เซลล์มะเร็งมีคุณสมบัติสำคัญที่จำเป็นต่อการดำรงคงอยู่ของเซลล์มะเร็งในร่างกาย ที่ถูกเรียกว่า The
Hallmarks of Cancer
มีความสามารถในการรักษาสัญญาณเกี่ยวกับการเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง (sustaining
proliferative signaling)
-
-
-
-
กระตุ้นให้เกิดการรุกรานเซลล์ข้างเคียงและการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ (activating
invasion & metastasis)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
Teratoma
เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงของ Germ cells ซึ่งเป็นเซลล์ที่จะเจริญเป็นเนื้อเยื่อในกลุ่มทั้ง Ectoderm, Mesoderm and Endoderm
-
กลไกการเกิดมะเร็ง (Carcinogenesis, oncogenesis)
ขั้นตอนกระบวนการที่ทำให้เซลล์ปกติ เปลี่ยนไปเป็นเซลล์มะเร็ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับพันธุศาสตร์(genetic), พันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม(epigenetic) และการแบ่งเซลล์ที่ผิดปกติในสภาวะปกติเซลล์จะมีกระบวนการการควบคุมการเจริญเติบโต
Proto-oncogene ยีนที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย มีหน้าที่ควบคุมการสร้างฮอร์โมนซึ่งออกฤทธิ์ฉพาะเจาะจงต่ออวัยวะเป้าหมาย บางชนิดมีหน้าที่ในการควบคุมการสร้างตัวรับสัญญาณ (Signal receptor) และการถ่ายทอดสัญญาณลงไปในนิวเคลียส (Signal transduction)
Tumor suppressor gene มีหน้าที่ควบคุมการสร้างสัญญาณและฮอร์โมนในการหยุดการแบ่งเซลล์เพื่อให้เกิดการซ่อมแซมสารพันธุกรรมก่อนจะส่งผ่านไปยังเซลล์รุ่นต่อไป
DNA repair genes ควบคุมการสร้างโปรตีนซึ่งทำหน้าที่ในการแก้ไขซ่อมแซมสาย DNA ที่เกิดความเสียหายในขั้นตอนการสร้างสาย DNA ในระหว่างขบวนการแบ่งเซลล์การกลายพันธุ์ของยีนกลุ่มนี้นำไปสู่ความไม่เสถียรทางพันธุกรรม (genetic instability)
ขบวนการหรือขั้นตอนในการเกิดมะเร็ง เป็นขบวนการหลายขั้นตอนกว่าที่ปกติของร่างกายจะกลายไปเป็นเซลล์มะเร็งเรียกว่า multistep carcinogenesis
-
-
-
-
-
-
-
โรคมะเร็งที่พบบ่อย
-
-
มะเร็งตับ
-
ในระยะเริ่มต้นผู้ป่วยส่วนมากมักไม่มีอากรผิดปกติ มักแสดงอาการเมื่อมีการลุกลามของโรคมากขึ้นอาการที่พบได้แก่ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดท้องช่วงบน คลื่นไส้ อาเจียน เหนื่อยเพลีย ท้องบวมโต ตา เหลือง ตัวเหลือง อุจจาระสีซีด
การวินิจฉัย อาศัยการตรวจเลือด ภาพถ่ายทางรังสี และการตรวจชิ้นเนื้อ (liver biopsy) เพื่อยืนยันค าวินิจฉัย และประเมินระยะของโรค เพื่อวางแผนการรักษา
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม ชนิดที่พบบ่อยที่สุด คือ มะเร็งที่มีต้นก าเนิดจากเซลล์ของท่อน้ านม (milk-producing ducts) ที่เรียกว่า invasive ductal carcinoma
อาการและอาการแสดง
- คลำได้ก้อนที่เต้านม (breast lump)
- ขนาดและรูปร่างของเต้านมเปลี่ยนแปลงผิดปกติไป
- มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังบริเวณเต้านม เช่น ผิวหนังบวมแดง อักเสบ คล้ายผิวส้ม
- หัวนมบุ๋มยุบ จากเดิม (newly inverted nipple)
- มีสารคัดหลั่งผิดปกติจากหัวนม (abnormal nipple discharge)
-