Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาdropped image link - Coggle Diagram
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1.ขั้นพัฒนาร่างหลักสูตร (เป็นการกำหนดองค์ประกอบของร่างหลักสูตร)
1.1 จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
(เป็นขั้นตอนแรกของขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรที่มีความสําคัญ ซึ่งจะเป็นแนวทางในการกําหนดเนื้อหาตลอดจนองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้อง)
เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เมื่อจบรายวิชาหรือกิจกรรมนั้น ๆ
1.1.1 ความสำคัญของจุดมุ่งหมาย
เป็นแนวทางในการกําหนดเนื้อหา
ที่จะบรรจุลงในหลักสูตร
เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ช่วยสื่อสารให้ผู้เรียน ตลอดทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตรได้ทราบถึงความต้องการ
เป็นแนวทางในการกําหนด การวัดและประเมินผล
เป็นแนวทางในการบริหารงานของสถานศึกษา
1.1.2 จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดี
ตั้งอยู่บนรากฐานทางการศึกษาอย่างถูกต้อง
สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
สอดคล้องกับพัฒนาการการเรียนรู้
ของผู้เรียนในแต่ละวัย
มุ่งเสริมสร้างค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้ ตระหนักและเห็นความสําคัญของการอนุรักษ์ และสร้างสรรค์วัฒนธรรมของตนเอง
มุ่งส่งเสริมผู้เรียนในทุกด้าน
เพื่อให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์
มุ่งส่งเสริมผู้เรียน ทั้งในด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะการปฏิบัติ และเจตคติ ก่อให้ เกิดค่านิยมที่ถูกต้องและมีพฤติกรรมที่พึงปรารถนา
1.1.3 วิธีการกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การประชุมอภิปรายโดยยึดหลักการ ในการกําหนดจุดมุ่งหมายที่ดีมาเป็นหลักการในการประชุมอภิปราย
การประชุมพิจารณาจาก จุดมุ่งหมายที่ได้ร่างขึ้นมาแล้วหรือหลักสูตรเดิมที่มีมาแล้วมาวิเคราะห์ที่ละข้อ
การศึกษาจากความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตร แล้วกําหนดจุดมุ่ง
1.2 เนื้อหา
1.2.1 ความสำคัญของเนื้อหา
เป็นสิ่งที่กําหนดลักษณะของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะต้องจัดให้กับ ผู้เรียน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนมีเหตุและผล
ช่วยขยายขอบเขตของประสบการณ์
ให้กว้างขวางมากขึ้น
1.2.2 เกณฑ์การคัดเลือกเนื้อหา
ระดับของความรู้ ความรู้มี 4 ระดับ ได้แก่
1.ระดับข้อเท็จจริงเฉพาะได้แก่
ความรู้ในระดับที่เป็นทักษะและกระบวน
2.ระดับแนวคิดพื้นฐานได้แก่ ความรู้ในระดับพื้นฐาน
3.ระดับความคิดรวบยอด ได้แก่
แนวคิดที่เป็นนามธรรม
4 ระดับระบบการคิด ได้แก่ ระบบความคิดหรือวิธีการแก้ปัญหาการเสาะแสวงหา ความรู้และการค้นพบ
เนื้อหาพื้นฐานที่ต้องรอบรู้
หลักสูตร จะต้องคัดเลือกเนื้อหา
ที่มีความเท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ขอบข่าย
การคัดเลือกเนื้อหาจะต้องมีความกว้างลึก
หลากหลาย ครอบคลุม
ลําดับขั้นตอน
จะต้องพิจารณาลําดับขั้นตอนของระดับความรู้
ว่าจะเรียนอะไรก่อนหลัง จะต้องรู้พื้นฐานเดิม
และจะบรรจุเนื้อหาที่มีความต่อเนื่องอย่างไร
การบูรณาการ
โดยการพิจารณาความสัมพันธ์ของเนื้อหา
กับเรื่องอื่น
1.3 การจัดประสบการณ์เรียนรู้
แบบการใช้โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ
(audio-visual approach)
แบบใช้การฝึกหัด
(drill-and-practice approach)
แบบใช้กิจกรรม
(activity-oriented approach)
แบบใช้การแก้ปัญหา
(problem-solving approach)
แบบการสอนรายบุคคล
(individualized approach)
แบบสืบสวนสอบสวน (inquiry approach)
แบบเรียนด้วยตนเอง (self-study-approach)
1.4 การวัดเเละประเมินผล
2.ขั้นประเมินร่างหลักสูตร
2.1 การประเมินความสอดคล้องของหลักสูตร
เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาว่า องค์ประกอบของหลักสูตรในแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กันหรือไม่
2.1.1 การประเมินโดยใช้กรอบเหตุผลสัมพันธ์ (logical framework relation)
เป็นการประเมินโดยอาศัยการตั้งคําถามเชิงเหตุผล
2.1.2 การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ
(expert judgment)
เป็นการประเมินหลักสูตร ที่อาศัยบุคคลกลุ่มหนึ่งที่มีความรู้ความสามารถหรือมีประสบการณ์
เกี่ยวกับหลักสูตร