Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านมะเร็ง ยากดและเพิ่มภูมิคุ้มกัน ANTICANCER DRUGS IMMUNOMODULATORS,…
ยาต้านมะเร็ง ยากดและเพิ่มภูมิคุ้มกัน ANTICANCER DRUGS
IMMUNOMODULATORS
ยากดและเพิ่มภูมิคุ้มกัน IMMUNOMODULATORS
ยาที่มีผลกดภูมิคุ้มกันร่างกาย (immunosuppressive agents)
ใช้ป้องกันและทำลายภูมิคุ้มกันที่ร่างกายไม่ต้องการ เช่น ใช้ในการป้องกันและรักษาการไม่ยอมรับอวัยวะที่ปลูกถ่าย (organ transplantation) ใช้รักษาภาวะ
ภูมิคุ้มกันต้านตนเอง
Azathioprine
มีฤทธิ์ในการกดภูมิคุ้มกัน
ผลข้างเคียงที่พบ กดการทำงานของไขกระดูก เกิดภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ
คลื่นไส้ อาเจียน เมื่อให้ยาในขนาดสูงมีผลต่อตับ
มีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบ
Corticosteroids
มีฤทธิ์กดการทำงานของเม็ดเลือดขาว ยับยั้งการสร้าง cytokine ต่างๆ ลดการอักเสบ
ผลข้างเคียงค่อนข้างสูงเมื่อใช้เป็นเวลานานเนื่องจากกดการทำงานของต่อม
adrenal เกิดภาวะติดเชื้อได้สูง
ยาที่นิยมใช้ได้แก่ methylprednisolone และ prednisolone
ใช้ในการรักษาภาวะต้านภูมิคุ้มกันตนเอง การใช้จะเริ่มในขนาดสูงในระยะแรก
จากนั้นค่อย ๆ ลดขนาดของยาลง
Cyclosporine A
ผลข้างเคียงของยามีพิษต่อไต อาจทำให้ระดับของน้ำตาล ความดัน ไขมันใน
เลือดเพิ่มสูงขึ้น การทำงานของตับผิดปกติ
ไม่มีผลกดการทำงานของไขกระดูกจึงเกิดการติดเชื้อได้น้อยสุดเมื่อต้องให้ยาเป็น
เวลานาน
เป็นยาอันดับแรกที่ใช้ในการป้องกันการปฏิเสธเนื้อเยื่อที่ทำการปลูกถ่าย
ยากดภูมิต้านทานตัวใหม่ เช่น TNF inhibitor, IL-1 receptor antagonist ยา
จะทำหน้าที่ยับยั้งการสร้างสารที่ทำให้เกิดการอักเสบและเป็นไข้
ยาจะทำหน้าที่ยับยั้งการสร้างสารที่
ทำให้เกิดการอักเสบและเป็นไข้
ยาที่มีผลเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย (immunizing agents)
การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค คือ การเสริมภูมิต้านทาน หรือภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำ
ให้ร่างกายสามารถป้องกันตัวเองจากการรุกรานของจุลชีพหรือสารพิษได้
การทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นทำได้
การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างขึ้น (Active immunization)
โดยการให้้ antigen หรือวัคซีนแก่ร่างกาย
ร่างกายจะมีการค่อย ๆ สร้างภูมิคุ้มกัน
ต่อโรคนั้น ๆ
ภูมิคุ้มกันอยู่ได้นานแต่การสร้างภูมิคุ้มกันชนิดนี้จะช้า
วัคซีนที่ใช้แบ่งเป็น
ชนิดเชื้อไม่มีชีวิต
ทำจากจุลชีพที่ทำให้ตายด้วยความร้อนหรือสารเคมี
เชื้อไม่
สามารถเพิ่มจำนวนในตัวผู้ป่วยได้
ชนิดเชื้อมีชีวิต
เชื้อมีฤทธ์อ่อน
เชื้อ
สามารถแบ่งตัวในร่างกายได้
ไม่ให้ใน
หญิงตั้งครรภ
หัด
คางทูม
วัคซีนโปลิโอชนิดกิน
หัดเยอรมัน
วัณโรค
การให้สารที่มีคุณสมบัติในการเป็นภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ป่วยโดยตรง (Passive immunization)
อันตรายที่เกิดขึ้นจากการให้ภูมิคุ้มกันแบบโดยตรงอาจทำให้ผู้รับเกิดการแพ้
อย่างเฉียบพลันจนอาจถึงแก่ชีวิตได้
ฤทธิ์ในการรักษาอยู่ได้ไม่นาน
การทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่อโรคนั้นทันที เหมาะกับการใช้ในกรณีฉุกเฉิน
ยารักษามะเร็ง
มะเร็ง (Cancer)
เซลล์เจริญหรือมีการแบ่งตัวที่ผิดปกติ
แพร่กระจายไปยังที่อื่น (metastasis) รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียง
สูญเสียการควบคุมการเจริญเติบโตไม่อยู่ในการควบคุมวัฎจักรการแบ่งตัว
เกิดจาการเพิ่มจำนวนของเซลล์ที่ไม่สามารถควบคุมได้
และเซลล์ดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะอย่างผิดปกติ
Cancer หมายถึง crab หรือ ปูเนื่องจากพฤติกรรมของเซลล์มะเร็งคล้ายขาของปู
Tumor//Neoplasm
Benign neoplasm
Malignant neoplasm
เนื้องอกที่รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียงและเเพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียง(metastasis)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง
เกิดจากความผิดปกติภายในร่างกาย
การมีภูมิคุ้มกันบกพร่องและภาวะทุพโภชนาการ
เกิดจากสิ่งเเวดล้อมหรือภายนอกร่างกาย
สารก่อมะเร็งที่ปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม
สารก่อมะเร็งที่เกิดจากการปิ้ง ย่าง
พวกไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon)
สารพิษจากเชื้อราที่มีชื่อ Alfatoxin
รังสีเอ็กซเรย์รังสีอุลตราไวโอเลตจากแสงแดด
เชื้อไวรัส ไวรัสตับอักเสบบ
การติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับ
สาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการทำลาย DNA
มลภาวะสิ่งแวดล้อม
สารอนุมูลอิสระ
กระบวนการก่อมะเร็ง
เป็นการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนเเละใช้เวลายาวนาน
ปัจจัยเสี่ยง
สารก่อมะเร็ง
บุหรี่
อาหาร
สารรังสี
ติดเชิ้อ
อื่นๆ
แนวทางการรักษามะเร็ง
การผ่าตัด (Surgery)
เป็นเทคนิคการรักษาโรคมะเร็งดั้งเดิมที่ในปัจจุบัน
โดยเฉพาะมะเร็งในระยะเริ่มต้น สามารถรักษาให้หายขาดได้จาก
การผ่าตัดที่เหมาะสม
การฉายรังสี (Radiotherapy)
รักษาโรคมะเร็งโดยใช้คลื่นเอกซเรย์ขนาดสูง หรือ
คลื่นกัมมันตรังสี
ยับยั้งการเจริญเติบโตและฆ่าเซลล์มะเร็ง โดยรังสีความเข้มสูง
สามารถทำลายเซลล์ได้ถึงระดับ DNA
ข้อจำกัด
มีมะเร็งเพียงไม่กี่ชนิดที่ตอบสนองต่อการฉายรังสี
มีความจำเพาะค่อนข้างต่ำ
การฉายรังสีบริเวณกว้างยังเพิ่มความเสี่ยง ของการเกิดมะเร็ง
ในตำแหน่งใหม่ที่เคยโดนรังสีอีกด้วย
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
ข้อดี
ยากระจายไปตามกระเเสเลือด จึงสามารถออกฤทธิ์ได้ทั่ว
เหมาะกับการรักษาโรคมะเร็งระยะแพร่กระจาย
ข้อเสีย
มีความจำเพาะต่ำ
ทำลายเนื้อเยื่อดี
เกิดผลข้างเคียงและเกิดความไม่สุขสบายแก่ผู้ป่วย
สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตเซลล์มะเร็งใน
ขั้นตอนการแบ่งเซลล์
มีความสามารถในการฆ่าเซลล์มะเร็ง
การรักษาโดยใช้ฮอร์โมน (Hormonal Therapy)
ยับยั้งฮอร์โมนที่ไม่พึงประสงค์
ผลข้างเคียงน้อยเมื่อเทียบกับการใช้ยาเคมีบำบัด
ข้อจำกัด
ใช้รักษาโรคมะเร็งได้เพียงไม่กี่ชนิด
ปัจจุบันใช้รักษาโรคมะเร็งเต้า
นม
กระตุ้นโดยฮอร์โมนเพศหญิง
มะเร็งต่อมลูกหมาก
กระตุ้นโดยฮอร์โมนเพศ
ชาย
การปลูกถ่ายไขกระดูก (Bone Marrow/Stem Cell Transplantation)
ส่วนใหญ่ยังเป็นการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งระบบเลือดอื่น ๆ
มะเร็งเซลล์สืบพันธุ์บางชนิด
Combination therapy
ใช้ยาร่วมกันหลายขนาน(Combination)
เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการรักษา
หลักในการเลือกใช้ยาร่วมกัน
เลือกชนิดยาที่ทำลายเซลล์มะเร็งในชนิดเดียวกัน
มีกลไกออกฤทธิ์เสริมกัน
ให้มีพิษไม่พึงประสงค์แตกต่างกันมาใช้ร่วมกัน
วัตถุประสงค์ในการรักษา
เพื่อรักษาให้หายขาด (Cure)
เพื่อควบคุมโรค (Control)
เพื่อบรรเทาอาการ (Palliation)
การตอบสนองของเซลล์มะเร็งต่อยามะเร็ง
ขนาดของเซลล์มะเร็งในระยะแรกเริ่มเป็นมะเร็ง เซลล์มะเร็งน้อยการรักษา
ด้วยยาจะได้ผลดี
ชนิดและลักษณะของมะเร็ง
ตำแหน่งของมะเร็ง
ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
เชื้อชาติ
สภาวะทาง
ร่างกายและจิตใจ
เพศ
สภาวะทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย
อายุ
การดื้อยา
Alkylating agents
ยาที่ใช้บ่อย
Cisplatin
Carboplatin
Cyclophosphamide
สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ทุกระยะ
กลไกการออกฤทธอ์ของยา
สาร alkylating agents ทุกตัวอาจเป็นสารก่อมะเร็งอาจทำให้เกิดมะเร็งชนิดอื่น
ตามมาได้
ไม่จำเพาะต่อระยะวงจรของเซลล์ ดังนั้นจึงเกิดพิษมาก
ยาจะไปทำปฏิกิริยากับ DNAและส่วนประกอบที่สำคัญอื่น ๆ
Cyclophosphamide, ifosfamide
กลไกการออกฤทธิ์ของยา Cyclophosphamide, ifosfamide
ยาถูกกระตุ้นโดยเอนไซม์ P450
mustard
acrolein
phosphoramide
ส่งผลให้
รบกวนการทำงานของ DNA และ RNA
เกิดสะพาน (cross-link) เชื่อมสาย DNA และ RNA
การใช้ยาทางคลินิก
cyclophosphamide และ ifosfamide มีทั้งชนิดกินและฉีด
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งรังไข่
มะเร็งเต้านม
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
Hodgkin’ s
non-Hodgkin’ s lymphoma
มะเร็งเม็ดเลือดขาวทุกชนิด
ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกันในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูก
ถ่ายอวัยวะ (transplantation)
Ifosfamide
รักษามะเร็งอัณฑะ (testicular carcinoma)
มะเร็งเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
(sarcoma)
ผลข้างเคียง
กระเพาะปัสสาวะอักเสบและมีเลือดในปัสสาวะ (hemorrhagic cystitis)
บรรเทา
ได้โดยการให้ mesna ร่วม
รบกวนระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน
กดไขกระดูก
ผมร่วง (alopecia)
กดระบบสืบพันธุ์ (gonadal suppression)
เพศชายจะยับยั้งการสร้างอสุจิทำให้เป็นหมันชั่วคราว
เพศหญิง ประจำเดือนอาจขาดๆ หายๆ
Cisplatin, Carboplatin
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ส่งผลให้รบกวนการทำงานของ DNA และ RNA
ยาเป็นสารเชิงซ้อนที่ประกอบด้วยธาตุทองคำขาว
ทำให้เกิดสะพาน
(cross-link) เชื่อมสาย DNA และ RNA
ผลข้างเคียง
พิษต่อหูทำให้หูหนวก
เส้นประสาทส่วนปลายผิดปกติ
ปวดตามปลายมือปลายเท้า
ชาตามปลายมือปลายเท้า
พิษต่อไต ลดการเกิดพิษโดยการให้สารน้ำที่เพียงพอ
การใช้ยาทางคลินิค
รักษามะเร็งรังไข่
ฉีดเข้าช่องท้อง (IP)
ยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ (IV)
อาการที่ควรหยุดยาและเเจ้งแพทย์ทันที
ปวด บวม แดง บริเวณที่ให้ยา
ถ่ายอุจจาระสีดำ ปัสสาวะมีสีแดง มีจุดจ้ำเลือดตามผิวหนัง
มีอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ (สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส) หนาวสั่น ไอ เจ็บคอ มีอาการ
ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ
การดื้อยา
ทำให้มีการนำยาเข้าสู่เซลล์น้อยลง
เพิ่มการสร้าง glutathione เพื่อให้ไปจับกับยาทำให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
เพิ่มความสามารถในการซ่อมแซม DNA
คำแนะนำ
ควรดื่มน้ำมากๆ
ประมาณวันละ 8 – 12 แก้ว
ระหว่างที่ได้รับยาและดื่มน้ำต่อไปอีก 24
ชั่วโมงหลังจากหยุดยา
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
ควรปัสสาวะทุกๆ 2 ชั่วโมงในระหว่าง
วัน ก่อนเข้านอน
ถ่ายปัสสาวะเมื่อรู้สึกอยากถ่าย
ผู้ป่วยอาจได้รับยาป้องกันอาการคลื่นไส้ในระหว่างการรักษา
รับประทานอาหารมื้อละ
น้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
การป้องกันการติดเชื้อ
ควรล้างมือบ่อยๆ
ดูแลสุขอนามัยในช่องปากไม่ให้เกิดแผลในปาก
หลีกเลี่ยงสถานที่ที่ผู้คนแออัด
แจ้งแพทย์ทันทีเมื่อพบอาการบ่งชี้ว่าอาจมีการติดเชื้อ
มีไข้ (มากกว่า 38 องศา
เซลเซียส)
หนาวสั่น
การป้องกันปัญหาเลือดแข็งตัวช้า
ระวังไม่ให้ท้องผูก
หากมีอาการปวดเล็กน้อยสามารถรับประทานยาพาราเซตามอลได้
ไม่ควรใช้ยา
ibuprofen
aspirin
ไม่ควรใช้ของแข็งแคะจมูก ควรเช็ดเพียงเบาๆ
ระมัดระวังไม่ให้มีบาดแผลหรือรอยฟกช้ำ
Antimetabolites
Folic acid analoguesor Antifolates ; Methotrexate
กลไกกการออกฤทธิ์ของยา
ออกฤทธิ์ป้องกันการเปลี่ยนdihydrofolate ไปเป็น tetrahydrofolate
โดยยับยั้ง
เอนไซม์ dihydrofolate reductase
ลดการสังเคราะห์ thymidylate กรดอะมิโน และ nucleotides เป็นส่วนประกอบของ DNA และ RNA
การใช้ยาทางคลินิก
ใช้รักษามะเร็ง
มะเร็งกระดูก
รังไข่
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
กระเพาะปัสสาวะ
เต้านม
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด non-Hodgkin’s lymphoma
การดื้อยา
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเอนไซม์ dihydrofolate reductase ให้จับยาได้น้อยลง
ลดการผ่านของยาเข้าสู่เซลล์
ผลข้างเคียง
พิษต่อระบบประสาท
พิษต่อตับ
เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร (GI hemorrhagic enteritis)
พิษต่อไตในขนาดสูง
กดไกกระดูก (bone marrow suppression)
leukopenia
thrombocytopenia
anemia
ผมร่วง (alopecia)
การป้องกันหรือลดผลข้างเคียง
ทำให้ปัสสาวะเป็นเบส
ให้สารน้ำที่เพียงพอแก่ผู้ป่วย
เร่งการขับยาทางปัสสาวะ
ลดผลของยาต่อเซลล์ปกติ โดยการให้ Leucovarin
Purine analogues ; Mercaptopurine (6-MP)
การใช้ยาทางคลินิก
acute lymphoblastic leukemia (ALL)
เป็นยากิน
acute myeloblastic anemia (AML)
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก (bone marrow suppression)
พิษต่อตับ และการทำงานของตับผิดปกติ คือ ตัวเหลือง (jaundice)
รบกวนระบบทางเดินอาหารอาจมีอาการคลื่นไส้และปวดบริเวณลิ้นปี่ร่วมด้วย
ออกไกการออกฤทธิ์ของยา
ยาเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนไปเป็น
สารที่ออกฤทธิ์คือ 6-thioinosine-5-phosphate
(T-IMP)
โดยเอนไซม์ Hypoxantine Guanine Phosphoribosyl Transferase (HGPRT)
เป็นขั้นตอนการสังเคราะห์ purine
รบกวนการสังเคราะห์ DNA และ RNA
ยับยั้งการเปลี่ยน IMP
adenine nucleotide
guanine nucleotide
การดื้อยา
เพิ่มการทำงานของ alkaline phosphatase
ทำให้ยาเป็นสารที่ไม่มีฤทธิ์
ทำให้มีระดับของเอนไซม์ HGPRT ลดลง
ปฏิกิริยาระหว่างยา
ยา allopurinolทำให้ระดับยา6-MP ในเลือดสูงจนเกิดพิษได้
allopurinol ยับยั้งเอนไซม์ xanthine oxidase ซึ่งทำลายยา 6-PM
Pyrimidine analogues ; Fluorouracil (5-FU),
Cytosine arabinoside (Ara-C), Fludarabine
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ยานี้เป็น analog ของ pyrimidine
มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์thymidylate
synthetase
ส่งผลให้ขาด thymine nucleotide
ทำให้รบกวนการสังเคราะห์ RNA และ DNA
การใช้ยาทางคลินิก
เป็นยาฉีดทางหลอดเลือดดำ
ยานี้เป็นพิษต่อทางเดินอาหารมากเมื่อใช้เป็นยากิน
ใช้รักษามะเร็งเต้านมและมะเร็งในทางเดินอาหาร
มะเร็ง
ตับอ่อน (pancreatic cancer)
มะเร็งลำไส้ใหญ่ (colorectal cancer)
มะเร็งกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง
กดการสร้างเม็ดเลือด (myelosuppression)
แผลในทางเดินอาหาร ตั้งแต่แผลที่ริมฝีปาก แผลในช่องปาก และในเยื่อบุทางเดินอาหาร
Hand-foot syndrome เมื่อให้ยาไปนาน ทำให้เกิดการลอกของฝ่ามือและฝ่าเท้า
Plant alkaloids
การใช้ยาทางคลินิก
Vinblastin
ใช้ร่วมกับยาอื่นในการรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodkin’ s lymphoma
Kaposi’ s sarcoma (เนื้องอกที่เกิดจาก herpes virus พบที่ผิวหนัง ช่องปาก ทางเดิน
อาหารและทางเดินหายใจ พบในผู้ป่วยเอดส์)
รักษามะเร็งอัณฑะ (testicular carcinoma)
Vinorelbine
รักษามะเร็งปอดชนิด nonsmall cell lung cancer (NSCLC)
มะเร็งเต้านม
Vincristine (oncovin ®)
รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodkin’ s lymphoma
มะเร็งรก (choriocarcinoma)
รักษามะเร็งหลายชนิดในเด็ก (WEAN)
กลไกการออกฤทธิ์
สาร alkaloids
ได้จากต้นพังพวยฝรั่ง (Vinca rosea Linn.)
ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดยตรงต่อวงจรชีวิตของเซลล์ในระยะMitosis
Vinblastine
Vincristine
Vinorelbine
เซลล์หยุดแบ่งตัวในระยะ Metaphase
เกิดการตาย
ของเซลล์
ผลข้างเคียง
Vincistine มีพิษต่อระบบประสาทกล้ามเนื้อ
ชาตามปลายมือปลายเท้า
เดินเซ
(Ataxia)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ภาวะรีเฟล็กซ์น้อย (areflexia)
Vinblastine จะกดการทำงานของไขกระดูก
อาการที่พบบ่อย
คลื่นไส
อาเจียน
เบื่ออาหาร
ปวดท้อง
การฉีดยาต้องระวังไม่ให้ออกนอกเส้นเลือดเพราะจะทำให้เนื้อเยื่อเกิดการอักเสบได้มาก
การดื้อยา
เกิดจากเซลล์มะเร็งมีการเพิ่ม P-glycoprotein ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งทำหน้าที่ขับยาออก
Antibiotics
Doxorubicin
การใช้ยาทางคลินิก
เป็นยาที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ยาจะถูกทำลายในกระเพาะอาหาร
Doxorubicin มีฤทธิ์กว้างต่อมะเร็งหลายชนิด
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (lymphoma)
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเยื่อบุมดลูก
มะเร็ง
รังไข่
มะเร็งปอด
การดื้อยา
เกิดจากการขับยาออกนอกเซลล์มะเร็งทาง P-glycoprotein และเพิ่มกลไกการ
ซ่อมแซม DNA
กลไกการออกฤทธิ์ยา
ยับยั้ง topoisomerase II
รบกวนการทำงานของเยื่อหุ้มเซลล์
สร้างอนุมูลอิสระ (free radicle) ซึ่งทำให้สาย DNA แตก
เกิดการ Intercalating DNA โดยจับกับคู่เบสในสาย DNA ส่งผลให้ปิดการสังเคราะห์
DNA และ RNA
ผลข้างเคียง
ผมร่วง (alopecia)
รบกวนระบบทางเดินอาหาร
กดไขกระดูก
พิษต่อหัวใจ(cardiotoxicity)
ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือด (exavasation) ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบๆ ตาย
Bleomycin
การใช้ยาทางคลินิก
เป็นยาฉีดให้ทางหลอดเลือดด า (IV)
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (IM)
ฉีดใต้ผิวหนัง (subcutaneous)
ใช้รักษา
มะเร็ง
มะเร็งอัณฑะ (testicular cancer)
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (ทั้ง Hodgkin’ s และ non- Hodgkin’ s lymphoma)
กลไกการออกฤทธิ์ยา
เป็นสารที่ได้มาจากเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces verticillus
ออกฤทธิ์โดยจับกับธาตุเหล็ก
เป็นสารประกอบเชิงซ้อนของยากับเหล็กซึ่งทำปฏิกริยากับออกซิเจนได้อนุมูลอิสระ
ทำให้เกิดการ
แตกของ DNA (DNA fragmentation)
เกิดการสอดแทรก (intercalating) ในสาย DNA ยามีผล
ต่อเซลล์ในระยะ G2
ผลข้างเคียง
พิษต่อเยื่อบุและผิวหนัง (mucocutaneous toxicity)
ปฏิกริยาการแพ้ (hypersensitivity reactions) อาจรุนแรงถึงขั้น anaphylaxis
ข้อเด่นของยานี้คือ กดไขกระดูกน้อยมาก
พิษต่อปอด (pulmonary) ทำให้ปอดอักเสบ และมีพังผืดในปอด
Dactinomycin or Actinomycin D
การใช้ยาทางคลินิก
ใช้ร่วมกับ vincristine ในการร กษา wilms’ tumor และ rhabdomyosarcomaในเด็ก
ใช้ร่วมกับ methotrexate ในการรักษา choriocarcinoma (มะเร็งรก)
รักษา Ewing’ s tumor (เนื้องอกกระดูก) และ Kaposi’ s sarcoma
การดื้อยา
เกิดการขับยาออกนอกเซลล์
กลไกการออกฤทธิ์ยา
เกิดการสอดแทรก (intercalate) เข้าไปใน double helix
สารประกอบ
เชิงซ้อนเรียกว่า dactinomycin-DNA
ส่งผลให้ยับยั้ง RNA polymerase
ทำให้สาย
single-strand DNA แตก
ชักนำให้เกิดการตายของเซลล์
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก (bone marrow suppression)
ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือด (exavasation) ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบๆ ตาย
รบกวนระบบทางเดินอาหาร
Mitomycin
การใช้ยาทางคลินิก
รักษามะเร็งปอด
รักษามะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
รักษามะเร็งปากมดลูก
รักษามะเร็งลำไส้ใหญ
กลไกการออกฤทธิ์ยา
ยาถูกเปลี่ยนในเซลล์โดย
อาศัยปฏิกริยา reduction
ทำให้เกิดสะพาน(cross-link)ในสาย DNA ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA
เป็นสารที่ได้มาจากเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces lavendulae
ผลข้างเคียง
พิษต่อไต
ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือด (extravasation) จะทำลายเนื้อเยื่อโดยรอบ
รบกวนทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร
ลำไส้หยุดทำงาน (paralytic ileus)
อาเจียน
ท้องผูก (constipation)
คลื่นไส้
เซลล์ผนังลำไส้ตายจนอาจเกิดผนังทะลุ
หายใจลำบาก เนื่องจากหลอดลมบีบเกร็ง เกิดพังผืดในปอด (lung fibrosis)
กดไขกระดูกอย่างรุนแรง
Hormonal agents
ส่วนใหญ่เป็นพวก steroid hormones
การสงเคราะห์
RNA และ protein receptors
ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนอื่นๆ
ให้ผลในการต้านมะเร็งที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง
การดื้อต่อยา
เกิดการดื้อยาได้เร็วมาก
ควรใช้ในระยะเวลาสั้นๆ
ฤทธิ์ข้างเคียงและพิษยา
ยาในกลุ่มนี้ไม่ค่อยเกิดผลข้างเคียงที่รุนแรง
อาจทำ
ให้มีการบวม
ระดับแคลเซียมในเลือดสูง
ความต้องการทางเพศลดลง
การดูดซึมและการขับออกจากร่างกาย
เข้าสู่ร่างกายประมาณ
80-90%
จับกับโปรตีนในพลาสมา
ยาถูกทำลายพิษที่ตับ
ถูกขับออกทาง
ปัสสาวะ
การรักษา
Androgens หรือ Testosterone (Halotestin, Testolactone)
ใช้รักษามะเร็งเต้านม
Estrogens (Diethylstilbestrol, Ethinylestradiol)
ใช้รักษามะเร็งเต้านม มะเร็งต่อม
ลูกหมาก
Progesterones (Progestin, Magestrol acetate)
ใช้รักษามะเร็งรังไข
Adrenal steroid
Dexamethasone
Prednisolone
Estrogen antagonist
มะเร็งต่อมลูกหมาก
ใช้รักษามะเร็งเต้านม
Antiandrogens
ใช้รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก
Gonadotropins
ยาต้านมะเร็งที่ออกฤทธิ์เกี่ยวข้องกับReceptors
Trastuzumab
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก
ผมร่วง
ไข้
ปวดเมื่อยตามตัวคล้ายโรคหวัด
ขึ้นผื่นตามตัว
การใช้ยาทางคลินิก
ใช้รักษามะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายไป
แล้ว
25-30% ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มี
HER2 บนผิวเซลล์มะเร็ง
กลไกการออกฤทธิ์
Trastuzumab จับกับ human epidermal growth factor receptors 2 (HER2 หรือ
ErbB2)
ทำให้ receptors ดังกล่าวไม่ทำงาน
พบในเซลล์มะเร็งเต้านม
Interferon-α2
ผลข้างเคียง
ผมร่วง
ขึ้นผื่นตามตัว
กดไขกระดูก
ไข้
ปวดเมื่อยตามตัวคล้ายโรคหวัด
การใช้ยาทางคลินิก
Kaposi ‘ sarcoma
Hairy cell leukemia
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับ Interferon receptors ที่ผิวเซลล์ มีผลต่อกระบวนการ transcription ของ gene
มีผลต่อการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
ยาอื่นๆ
Procarbazine HCL
มีผลยับยั้งการสร้าง
RNA
Protein
DNA
ได้ผลดีในการรักษาเซลล์มะเร็งของเม็ดเลือดขาว
ทำปฏิกิริยากับ DNA
L-asparaginase
เปลี่ยนกรดอะมิโน asparagines
เป็น aspartic acid
ต้องให้โดยวิธีฉีดเข้าหลอดเลือด ใช้รักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองและปอด
acute lymphoblastic leukemia
( ALL)
ยาพวกเอนไซม์
Bevacizumab
Sorafenib
ใช้รักษา
renal cell carcinoma
hepatocellular carcinoma
ผลข้างเคียง
ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน (thromboembolism)
ไตวายเฉียบพลัน
ความดันเลือดสูง
ยับยั้ง RAF kinase
จัดทำโดย
นางสาว เกวริน พลายสวัสดิ์
เลขที่49 ห้อง1
รหัสนักศึกษา 6317701001054
เอกสารอ้างอิง
อาจารย์ศิมาภรณ์พวงสุวรรณ
(ตุลาคม 2564). ยาต้านมะเร็งยากดและเพิ่มภูมิคุ้มกัน. เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชวิทยายาต้านมะเร็งยากดและเพิ่มภูมิคุ้มกัน, สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
(อัดสำเนา)