Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อ3.องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนวิชาการจัดการ คุณภาพและการประกันคุณภาพการ…
ข้อ3.องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนวิชาการจัดการ คุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวคิดในการจัดการคุณภาพทั้งองค์กร
วิลเลียม เอดเวิดส์ เดมมิง
การวางแผน (Plan)
การทำ (Do)
การแก้ไข (Act)
การตรวจสอบ (Check
. คาโอรุ อิชิกาวา
อิชิกาวา อาศัยความคิดคุณภาพมาจากจูรานและเดมมิงเป็นคนคิดแผนผังก้างปลา (Fishbone Diagram) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ
W. Chan Kim
หนึ่งในนักทฤษฎีชาวตะวันออกที่มีอิทธิพลต่อการบริหารงานแบบตะวันตกและทั่วโลกนั้นก็คือนักทฤษฎีการบริหารชาวเกาหลีผู้นี้ซึ่งผลงานที่โด่งดังที่สุดนั้นก็คือ Blue Ocean Strategy
Management by objective (MBO)
แบบ MBO ก็คือมีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการ ทำให้มีทิศทางในการบริหารที่ชัดเจนขึ้น
Balanced Scorecard (BSC)
มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective), 2. มุมมองด้านลูกค้า(CustomerPerspective), 3. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) และ 4. มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Growth Perspective)
Lean & Toyota Way
2 เสาหลัก คือ "การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง" (continuous improvement) และ "การเคารพนับถือในคน"
School Base Management: SBM
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน หมายถึง แนวคิดการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา จากส่วนกลางไปยังสถานศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ประกอบด้วย
• การกำหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
• การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา
การรายงานและนำผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไปใช้ประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนา
การเตรียมการและให้ความร่วมมือในการติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด
กรอบการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ซึ่งมีองค์ประกอบ ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัย ด้านกระบวนการ (กระบวนการดำเนินงานตามแผน) และด้านผลผลิต/ผลลัพธ์
การประเมินคุณภาพการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
เป็นวิธีการที่ใช้ในการดำเนินงานประเมินความต้องการคุณภาพและการสังเคราะห์ผลที่ได้จากการวิจัยประเมินความต้องการคุณภาพและการสังเคราะห์ผล
หลักการของการประเมิน
การประเมินที่ดำเนินการโดยบุคลากรภายในหน่วยงาน (Internal MetaEvaluation of Needs Assessment Research)
การประเมินอภิมานที่ดำเนินการโดยบุคลากรภายนอกหน่วยงาน
การประกันคุณภาพภายใน
เป็นการตรวจสอบ การควบคุม การติดตาม ประเมินผลคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถาบันการศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงาน ต้นสังกัด
การประกันคุณภาพภายนอก
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เรียกโดยย่อว่า สมศ. มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้ำที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดกำรศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1 มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3 มาตรฐานการศึกษาพิเศษ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจสอบคุณภาพ และผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อนำผลการประเมินมาจัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และนำมาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนา
เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากองค์กรภายนอก
ขั้นตอน
ศึกษาและเตรียมการ
วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามแผน
การประกันคุณภาพภายนอก
สมศ. ย่อมาจาก สำนักงานรับรองคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานฯ พ.ศ. 2543 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเกณฑ์ และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและทำการประเมินผลการจัดการศึกษา
หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก
1.เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่มุ่งเน้นเรื่อง การตัดสิน การจับผิดหรือการให้คุณให้โทษ
2.ยึดหลักความเที่ยงตรง โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง และมีความรับผิดชอบตรวจสอบได้
3.มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายหลัก และหลักการ ศึกษาของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ
3 รูปแบบ
Partial-visit (ลงพื้นที่ 1-2 วัน)
Full-visit (ลงพื้นที่ 3 วัน)
Non-visit (ไม่มีการลงพื้นที่)
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทบาทของผู้บริหารและบุคลากร
การเตรียมการก่อนดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ผู้บริหารจะมีบทบาทในการเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยสร้างความตระหนัก และพัฒนาความรู้ทักษะต่าง ๆ ให้กับบุคลากร
ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องปลุกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้บุคลากรทุกฝ่ายมองเห็นคุณค่า และมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน
ผู้บริหารต้องดำเนินการร่วมกับบุคลากรหลักที่ได้รับมอบหมายในรูปของคณะกรรมการ หรือคณะทำงานในการดำเนินงานต่าง ๆ และต้องกำกับ ดูแล ช่วยเหลือ