Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดนวัตกรรม ความหมายนวัตกรรมและ จำแนกประเภท ของนวัตกรรมและ …
บทที่1 แนวคิดนวัตกรรม ความหมายนวัตกรรมและ
จำแนกประเภท ของนวัตกรรมและ
ตัวอย่างนวัตกรรมทางการพยาบาล
แนวคิดนวัตกรรมทางการพยาบาลมี 2 แนวคิด
กรอบความคิดเติบโต (Growth mindset)
และการปฏิบัติโดยการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์(Evidence
based practice: EBP)
กรอบความคิดเป็นความเชื่อของบุคคลที่มีลักษณะและคุณลักษระของตนเอง เช่น เชาว์ปัญญา ความสามารถ บุคลิกภาพ
กรอบความคิด เติบโต (Growth mindset)
ความท้าทายเป็นสิ่งที่น่าลอง มองความพยายามเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จ เรียนรู้และเปิดรับคำวิจารณ์
กรอบความคิดจำกัด(Fixed mindset)
หลีกเลี่ยงความท้าทาย ยอมแพ้ ไม่ยอมรับคำวิจารณ์เชิงบล
การจำแนกประเภท ของนวัตกรรม
แบ่งออกเป็น 6 ประเภท
นวัตกรรมด้านระบบการศึกษา
นวัตกรรมด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน
นวัตกรรมด้านการสื่อสารและเทคโนโลยี นวัตกรรม ด้านการประเมินผล
นวัตกรรมด้านการบริหารการศึกษา
นวัตกรรมด้านการประเมินผล
นวัตกรรมด้านออกแบบและสิ่งประดิษฐ์ทางการพยาบาล
ความหมายของนวัตกรรมทางการพยาบาล
กระบวนการ ผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่ได้สร้างขึ้นใหม่ รวมทั้งเป็นการพัฒนาปรับปรุง ดัดแปลงนวัตกรรมให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาวิชาชีพได้
จำแนกประเภทของนวัตกรรมทางการพยาบาล 2 ประเภท
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ที่สิ่งที่สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยแก้ปัญหาการให้การบริการ
นวัตกรรมระบบบริการหรือกระบวนการบริการพยาบาลนวัตกรรมระบบบริการหรือกระบวนการบริการพยาบาลการสอนเพื่อพัฒนา นวัตกรรมทางการพยาบาล
โดยการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรมหรือไม่มีสิ่งที่พิจารณาคือ
จะต้องมีการนำวิธีการจัดระบบมาใช้
จะต้องเป็นสิ่งหนึ่งสิ่งใดต่อไปนี้
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วน ไม่เคยมีใครคิดนำมาใช้ก่อน
เป็นสิ่งที่มีมาแล้วในที่อื่น แต่นำมาใช้ในที่ซึ่งไม่เคยใช้มาก่อน
เป็นสิ่งที่เคยมีมาแล้ว แต่น ามาปรับปรุงเสริมแต่งขึ้นใหม่ให้เหมาะสม
จะต้องไม่เป็นส่วนของระบบงานในปัจจุบัน
ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม นวัตกรรมทางการพยาบาล 5 ขั้นตอน (5A)
การตั้งคำถามทางคลินิก (Ask) ในรูปแบบของ PICO
P = Population of interest ระบุประชาการที่สนใจ
I = Intervention or area of interest ระบุความช่วยเหลือ กิจกรรมการพยาบาล
C = Compare intervention or group เปรียบเทียมการช่วยเหลทิ วิธีการนำมาใช้
O = Outcome ผลที่ต้องการให้เกิด
การสืบค้นเพื่อหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ดีที่สุด (Acquire)
การประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างมีวิจารณญาณ (Appraise) ตั้ง3 คำถาม คือ
ผลของการศึกษามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด?
อะไรคือผล ของการศึกษาและความสำคัญ
ผลของการศึกษาที่เกิดขึ้นช่วยในการดูแลผู้รับบริการหรือไม่?
แนวทางการจัดรัดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานเชิงประจักษ์
ระดับที่ 1 งานวิจัยแบบทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ (Systematic review) งานวิจัยแบบวิเคราะห์เมต้า (meta-analysis)
ระดับที่ 2 งานวิจัยแบบทดลองแบบสุ่มกลุ่มตัวอย่างและมีกลุ่มควบคุม (RandomizedControlled Trials, RCT)
ระดับที่ 3 งานวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
ระดับที่ 4 งานวิจัยแบบการศึกษาการศึกษาไปข้างหน้า ย้อนหลัง ผลของสาเหตุ (Casecontrol blaz cohort studies)
ระดับที่ 5 งานวิจัยแบบทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบที่ได้จากงานวิจัยเชิง บรรยายและวิจัยเชิงคุณภาพ (Descriptive and qualitative studies)
ระดับที่ 6 งานวิจัยแบบบรรยายหรืองานวิจัยเชิงคุณภาพ (Descriptive and qualitativestudies)
ระดับที่ 7 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และ/หรือรายงานจากคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ(Reports of expert committees)
การบูรณาการหลักฐานเชิงประจักษ์กับผู้เชี่ยวชาญ และบริบทความต้องการของผู้รับบริการ(Apply)
การประเมินผลลัพธ์จากการปฏิบัติ (Analyze & Adjust)
การพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาลที่มีคุณภาพและประสบความสำเร็จ มีกระบวนการ ดังนี้
มองเห็นปัญหาในการปฏิบัติการพยาบาลหรือบริหารจัดการงานบูรณาการพยาบาลที่มีอยู่เดิม เอาใจใส่ในสิ่งผิดปกติที่พบงานประจำ
ประเมินความต้องการนวัตกรรมโดยประเมินสภาพปัญหาเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างชัดเจน
สร้างแนวร่วมและทีมงาน จากการพูดคุย บอกต่อ เพื่อค้นหาคนที่มีความสนใจ
ก าหนดประเด็น/หัวข้อที่ต้องการพัฒนานวัตกรรมให้มีความเฉพาะเจาะจง
ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ โดยตรวจสอบว่ามีวิธีที่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาให้ดี
สังเคราะห์ข้อความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่มีคุณภาพเพื่อน ามาบูรณาการในการ วางแผนออกแบบ
ออกแบบนวัตกรรมทางการพยาบาล เพื่อเปลี่ยนแปลงระบบการปฏิบัติพยาบาล
ก าหนดวิธีวัดให้มีประสิทธิภาพของนวัตกรรม ส่วนใหญ่เป็นการวัดผลโดยใช้ข้อมูล เชิงปริมาณ
ก าหนดวิธีการใช้นวัตกรรมในคลินิกหรือในการทดลอง
ทดลองใช้นวัตกรรมในหน่วยงานตามแผนที่วางไว้
ประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม ในความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง
บันทึกโดยสรุปผล พร้อมแหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมทางการพยาบาล
เผยแพร่นวัตกรรม
ประโยชน์ของนวัตกรรม
ท าให้เกิดการพัฒนาขององค์กร
เพื่อใช้ในการศึกษาต่อและพัฒนาชิ้นงานให้ดียิ่งขึ้น
ช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ ที่ก่อให้เกิดอันตราย
ช่วยลดความเสี่ยงต่างๆ เกิดขึ้น มีความสะดวกสบาย ทันสมัยในการใช้งาน
ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการนำซึ่งเป็นการนำสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ให้เกิดประโยชน์นวัตกรรม
สามารถน าวัสดุ อุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ลักษณะนวัตกรรมที่ดี
เหมาะสม/สอดคล้องกับสภาพปัญหา/ความต้องการ
เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
ถูกต้องตามหลักวิชา มีโอกาสเกิดผลบวกค่อนข้างสูง
เป็นวิธีการหรือสื่อที่สร้างสรรค์ น่าสนใจ
ข้อดีของนวัตกรรมทางการพยาบาล
1.ส่งเสริมให้เกิดการบริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นและเป็นการช่วยยกระดับของโรงพยาบาลให้ดีขึ้น
การสร้างนวัตกรรมและมีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น
ต้องการลดค่าใช้จ่ายในระบบสุขภาพและยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาระบบสุขภาพที่เข้มแข็งและความคุมค่าคุ้มทุนซึ่งจากการศึกษาการเรียนรู้ในการท างานของพยาบาล
การแก้ปัญหาและผุ้รับบริการมีความพึงพอใจมากขึ้น
ข้อเสียของนวัตกรรมทางการพยาบาล
ปัจจุบันค่าครองชีพที่สูงขึ้น การประดิษฐ์วัสดุมีราคาแพง เพิ่มรายจ่ายสูงขึ้น
วัสดุอาจไม่ทนทาน ยังไม่ได้รับการยอมรับ