Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่9 ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไทย
การมีนโยบายที่ให้ความสําคัญกับบทบาท
ของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ
ไม่แยกผู้สูงอายุออกจากชุมชน
ทําให้การจัดสวัสดิการ
ผู้สูงอายุมีหน่วยงานที่รับผิดชอบร่วมกันทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ องค์กรประชาชน ประชาชน
และมีบริการหลากหลาย รายละเอียดดังต่อไปนี้
การจัดบริการโดยรัฐ
การจัดบริการและสวัสดิการผู้สูงอายุโดยภาครัฐ มีรูปแบบการจัดและหน่วยงานที่รับผิดชอบดังต่อไปนี
การจัดบริการโดยเอกชน
การจัดบริการและสวัสดิการผู้สูงอายุโดยภาครัฐ
ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ (Day Center)
บริการภายในศูนย์ ได้แก่ สุขภาพอนามัย กายภาพบําบัด
บริการบ้านพักฉุกเฉิน เป็นบริการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าต้องการแยกมาอยู่ชั่วคราว
หน่วยเคลื่อนที่ ของกระทรวงพัฒนาสังคม เป็นหน่วยเคลื่อนที่ซึ่งประกอบด้วยแพทย์พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ
ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อผู้สูงอายุ (สถานสงเคราะห์คนชรา Home for
the age)
3) การจัดการอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) เพื่อทําหน้าที่ดูแลผู้สูงอาย
4) เงินสงเคราะห์ในการจัดการศพ ช่วยเหลือเงินเพื่อใช้ในการจัดการศพสําหรับผู้สูงอายุที่ยากจน ศพละ 2,000 บาท
5) กองทุนผู้สูงอายุ
6) การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม
7) การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
8) การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาครอบครัว
9) การช่วยเหลืออาหารและเครื่องนุ่งห่ม โดยช่วยเป็นสิ่งของ เป็นเงินครั้งละ 2,000บาท ไม่เกิน 3 ครั้ง/คน/ป
การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุโดยชุมชน
มีรูปแบบการจัด ดังนี้
การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านนาหว้า
โครงการสถานพักฟื้น
คนชราดอนลาน เป็นต้น
ระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุไทย
การให้บริการรักษาพยาบาลแก่ผู้สูงอายุฟรี (หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) สามารถใช้สิทธิได้
ทุกหน่วยงานบริการสุขภาพของรัฐ
การส่งเสริมให้มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ ทุกตําบล ทั่วประเทศ เพื่อเป็นหน่วยงานกลางใน
การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี
การจัดช่องทางด่วนสําหรับผู้สูงอายุในทุกสถานบริการพยาบาล ตั้งแต่ระดับสถานีอนามัย
จนถึงระดับโรงพยาบาลศูนย์
การจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุ (Geriatric clinic) โรงพยาบาลทุกแห่งในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข และทบวงมหาวิทยาลัย โดยคลินิกผู้สูงอายุมีกิจกรรมในการดูแล ดังนี้
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค
การฟื้นฟูสภาพ
การรักษาโรค
การสอนทักษะการดูแลตนเอง
การจัดโรงพยาบาลที่ให้การดูแลในระยะสุดท้าย เช่น รพ.ศูนย์มหาวชิราลงกรณ์ ที่ให้การ
ดูแลผู้ปุวยมะเร็งระยะสุดท้าย เป็นต้น
การจัดศูนย์ดูแลกลางวัน (Day Care) ผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุจะเข้ารับบริการในช่วงเช้าและกลับช่วงเย็น ไม่ค้างคืน
การจัดระบบบริการดูแลระยะยาว (Long term Care) ในทุกสถานบริการพยาบาล โดยมี
กิจกรรมเยี่ยมบ้านเพื่อให้คําแนะนําการปฏิบัติตัว
สรุป
ประเทศไทยเห็นความสําคัญของประเด็นการเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างรวดเร็ว ได้มีการบรรยัติ
กฏหมายเพื่อให้ทุกกระทรวง ได้มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุในทุกมิติอย่างครอบคลุม
ปัจจุบันการส่งเสริมสวัสดิการทางสังคม และระบบการให้บริการทางสุขภาพ ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อ
ตอบสนองการดูแลผู้สูงอายุไทยได้อย่างมีคุณภาพต่อไป