Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์แฝด (Twin pregnancy), นางสาวอะลีฟะฮ์ กาเซ็ง เลขที่39…
การตั้งครรภ์แฝด
(Twin pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์แฝด คือ การตั้งครรภ์ที่เกิดจากการฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้วภายในโพรงมดลูก และเป็นผลให้เกิดตัวอ่อนขึ้นมากกว่า 1 ตัว
ชนิดของการตั้งครรภ์แฝด
Monozygotic twins pregnancy
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกันหรือแฝดเหมือน เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ที่ปฏิสนธิแล้วใบเดียว ทารกแฝดจะมีรูปร่างหน้าตา เพศ ลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน
Dizygotic twins pregnancy
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ที่ปฏิสนธิ 2 ใบ ทารกแฝดชนิดนี้จะมีรูปร่างหนำาตา ลักษณะทางพันธุกรรมต่างกัน ส่วนเพศอาจเหมือนหรือต่างกันก็ได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
2.ตรวจได้ส่วนต่างๆของทารก มากผิดปกติ
1.ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
3.ฟังได้ยินเสียงหัวใจทารกมากกว่า 1 แห่ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
4.ทารกทั้งสองอยู่ในถุงน้ำคร่ำเดียวกัน
5.ภาวะทารกเสียชีวิตหนึ่งคน
3.ภาวะ twin-twin transfusion syndrome เป็นภาวะแทรกซ้อนสำคัญของแฝดชนิด monochorionic เกิดจากการมีการเชื่อมต่อและถ่ายเทเลือดที่ไม่สมดุลระหว่างทารกทั้งสอง ทารกที่เสียเลือดให้อีกคน จะเกิดภาวะโลหิตจาง โตช้าในครรภ์ น้ำคร่ำน้อย ส่วนทารกที่ได้รับเลือดจะเกิด ภาวะหัวใจล์มเหลว บวมน้ำ น้ำคร่ำมาก
2.ทารกพิการแต่กำเนิด เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ความผิดปกติของหัวใจ
6.คลอดก่อนกำหนด
1.การแท้ง
ปัจจัยที่เป็นเหตุให้เกิดการตั้งครรภ์แฝด
3.อายุมารดา
พบมากในอายุมาก เชื่อว่าเกิดจากการที่ FSH เพิ่มสูงขึ้น
4.จำนวนการตั้งครรภ์
พบมากในครรภ์หลังๆ
2.พันธุกรรม
5.รูปร่างและโภชนาการ
1.เชื้อชาติ
6.ฮอร์โมน
พบว่าการตั้งครรภ์ในเดือนแรกหลังหยุดใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด มีโอกาสเกิดครรภ์แฝด
ผลกระทบกับมารดา
1.การเพิ่ม cardiac output
2.คลื่นใส้อาเจียนมากกว่าปกติ
3.หลังคลอดเสี่ยงตกเลือดเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
4.อธิบายให้มารดาเข้าใจแผนการรักษาพยาบาลที่จะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ยาระงับปวดในการคลอด
5.แนะนำให้หายใจเข้าลึกๆยาวๆแล้วหายใจออกทางปากช้าๆเมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัว เมื่อมดลูกคลายตัวให้หายใจธรรมดา
3.จัดท่าให้มารดานอนตะแคงซ้าย
6.ประเมินสภาพทารกในครรภ์ด้วยเครื่อง Fetal monitor ถ้าพบผลผิดปกติรายงานแพทย์ทราบทันที
2.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
7.จัดเตรียมความพร้อมโดยให้การคลอดดำเนินไปโดยมารดาและทารกได้รับความปลอดกับโดยเตรียมอุปกรณ์และคีมช่วยฟื้นคืนชีพทารกตลอดจนกุมารแพทย์ให้พร้อมตลอดเวลา
1.ตรวจและบันทึกอัตราการเต้นของตัวใจทารกอย่างสม่ำเสมอทุก 30 นาที หรือทุก 1 ชั่วโมง
8.ส่งเสริมให้สามีและญาติเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลมารดาในระยะเจ็บครรภ์คลอดโดยแนะนำให้ช่วยนวดหลัง
นางสาวอะลีฟะฮ์ กาเซ็ง เลขที่39 รหัส611001402399