Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 Tumor, Cancer and Neoplasm what-is-the-difference-between-a-tumor…
บทที่ 13 Tumor, Cancer and Neoplasm
Cancer หมายถึง
เนื้องอกชนิดร้าย เกิดขึ้นเพราะเซลล์แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ควบคุมไม่ได้ แล้วแทรกไปตามเนื้อเยื่อข้างเคียง และ
-
Benign neoplasm versus Malignant neoplasm
Benign Neoplasm
-
ก้อนจะโตขึ้นเรื่อย ๆ แต่จะไม่พบมีการแทรกหรือรุกรานเนื้อเยื่อปกติข้างเคียงและเกิดขึ้นเฉพาะที่โดยไม่มีการ
-
Malignant Neoplasm
เป็นเนื้องอกร้ายหรือมะเร็ง ที่มีการเพิ่มจำนวนของเซลล์อย่างควบคุมไม่ได้และพบมีการแทรกหรือรุกรานของเซลล์มะเร็งไป
-
-
Differentiation คือ
ลักษณะของเซลล์เนื้องอก เมื่อเปรียบเทียบกับเซลล์ปกติที่เป็นเซลล์หรือ
เนื้อเยื่อต้นก าเนิดทั้งในด้าน ลักษณะรูปร่างหน้าตาและการท างาน (Function)
Well differentiation
– เซลล์เนื้องอกนั้น มีลักษณะรูปร่างและการท างานใกล้เคียงกับเซลล์หรือ
เนื้อเยื่อต้นก าเนิดมาก แสดงถึงว่า เนื้องอกชนิดดังกล่าวมีการเจริญที่ดี
-
Poorly differentiation
– เซลล์เนื้องอกนั้น มีลักษณะรูปร่างและการท างานแตกต่างจากเซลล์หรือ
เนื้อเยื่อปกติมากจนแทบจะบอกเซลล์หรือเนื้อเยื่อต้นก าเนิดไม่ได้
-
-
-
โรคมะเร็งที่พบบ่อย
มะเร็งเต้านม
-
อาการและอาการแสดง
- คลำได้ก้อนที่เต้านม (breast lump)
- ขนาดและรูปร่างของเต้านมเปลี่ยนแปลงผิดปกติไป
- มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังบริเวณเต้านม เช่น ผิวหนังบวมแดง อักเสบ คล้ายผิวส้ม
- หัวนมบุ๋มยุบ จากเดิม (newly inverted nipple)
- มีสารคัดหลั่งผิดปกติจากหัวนม (abnormal nipple discharge)
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
- มีประวัติเคยตรวจพบเซลล์เต้านมที่ผิดปกติ เช่น atypical hyperplasia of the breast หรือ เคยเป็นมะเร็งเต้านมข้างหนึ่ง ย่อมมีความเสี่ยงที่จะเกิดมะเร็งเต้านมอีกข้างหนึ่งสูงกว่าคนปกติ
- มีประวัติญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม เช่น มารดา พี่สาว น้องสาว
- มีการกลายพันธุ์ที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม เช่น BRCA1 and BRCA2
- เคยได้รับการฉายแสงบริเวณทรวงอก
-
- เป็นประจำเดือนครั้งแรกก่อนอายุ 12 ปี และ หมดประจำเดือนช้า
- ไม่มีบุตร หรือ มีบุตรคนแรกหลังอายุ 30 ปี
- การได้รับ Hormonal replacement therapy หลังหมดประจ าเดือน
-
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
- หญิงอายุ 45 -54 ปี แนะน าให้ตรวจภาพรังสีเต้านม (mammography) ปีละ 1 ครั้ง
- หญิงอายุ 55 ปีขึ้นไปที่ยังแข็งแรง แนะน าให้ตรวจภาพรังสีเต้านม (mammography) 1-2 ปี/ ครั้ง
-
-
มะเร็งตับ
-
-
-
การวินิจฉัย
อาศัยการตรวจเลือด ภาพถ่ายทางรังสี และการตรวจชิ้นเนื้อ (liver biopsy) เพื่อยืนยัน
ค าวินิจฉัย และประเมินระยะของโรค เพื่อวางแผนการรักษา
มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ในระยะเริ่มแรกมักไม่แสดงอาการ
ผิดปกติ มักแสดงอาการเมื่อมีการลุกลามของโรคมากขึ้น
อาการที่พบได้แก่
- พฤติกรรมการขับถ่ายผิดปกติไปจากเดิม
-
-
-
- น้ าหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยง
- อายุ มะเร็งลำไส้ใหญ่มักพบในผู้ป่วยอายุ 50 ปีขึ้นไป
- เชื้อชาติ African-American
- เคยมีประวัติ colorectal polyps
- มีประวัติ Inflammatory bowel disease เช่น ulcerative colitis, Crohn's disease
- มีโรคทางพันธุกรรมที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ เช่น familial adenomatous
polyposis (FAP), Lynch syndrome หรือที่เรียกว่า hereditary nonpolyposis colorectal cancer(HNPCC).
- มีประวัติญาติสายตรงเป็นมะเร็งล าไส้ใหญ่และทวารหนักมากกว่า 1 คน
- รับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย และ อาหารไขมันสูง เนื้อแดง และเนื้อสัตว์แปรรูป (red meatand processed meat)
-
-
-
-
-
-
-
การรักษา
มีทั้งการผ่าตัด การให้ยาต้านมะเร็ง และ การใช้รังสีรักษา แพทย์จะเลือกใช้วิธีการใดขึ้นกับ
ตำแหน่ง และระยะของโรคมะเร็ง
-
-
-
กลไกการเกิดมะเร็ง (Carcinogenesis, oncogenesis)
คือ ขั้นตอนกระบวนการที่ทำให้เซลล์ปกติ เปลี่ยนไปเป็นเซลล์มะเร็ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระดับพันธุศาสตร์(genetic), พันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม(epigenetic) และการแบ่งเซลล์ที่ผิดปกติในสภาวะปกติเซลล์จะมีกระบวนการการควบคุมการเจริญเติบโต
Proto-oncogene
ยีนที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย มีหน้าที่ควบคุมการสร้างฮอร์โมนซึ่งออก
ฤทธิ์ฉพาะเจาะจงต่ออวัยวะเป้าหมาย
Tumor suppressor gene
มีหน้าที่ควบคุมการสร้างสัญญาณและฮอร์โมนในการหยุดการแบ่งเซลล์เพื่อให้เกิดการซ่อมแซมสารพันธุกรรมก่อนจะส่งผ่านไปยังเซลล์รุ่นต่อไป หากเกิดการกลายพันธุ์ของTumor suppressor gene จะส่งผลให้การแสดงออกของยีนลดลงหรือขาดหายไป(Loss-of-function mutations)
DNA repair genes
ควบคุมการสร้างโปรตีนซึ่งท าหน้าที่ในการแก้ไขซ่อมแซมสาย DNA ที่เกิดความเสียหายในขั้นตอนการสร้างสาย DNA ในระหว่างขบวนการแบ่งเซลล์การกลายพันธุ์ของยีนกลุ่มนี้นำไปสู่ความไม่เสถียรทางพันธุกรรม (genetic instability)