Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดหลักการ และกระบวนการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 1 แนวคิดหลักการ และกระบวนการบริหารทางการพยาบาล
ความหมายหลักการบริหาร
การบริหาร (Administration ) หมายถึงการกําหนดนโยบายวางแผน ติดตามการดําเนินงานขององค์กร เป็ นการบริหารงานของผู ้บริหารระดับสูง (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร ;๒๕๕๕)
การบริหาร หมายถึง กลุ่มของกิจกรรม หรือกระบวนการ ๗ ขั้นตอนเพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และด้วยจุดมุ่งหมายสำคัญในการบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลครบถ้วน
(ภิญโญ สาธร)
D (Directing) หมายถึง การอำนวยการ
Co (Co-ordination) หมายถึง การประสานงาน
S (Staffing) หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับคนในองค์กรการบริหารงานบุคคล (personnel management)
O (Organizing) หมายถึง การจัดโครงสร้างของการบริหารงาน
P (Planning) หมายถึง การวางแผน
R (Reporting) หมายถึง การบันทึกรายงาน
B (Budgeting) การจัดทำงบประมาณการเงิน
การบริหารการพยาบาลหมายถึง การก าหนดนโยบาย วางแผน การจัดองค์กร (Organizing) การสั่งการ (Leading/Directing) หรือการอ านวย และการควบคุม ติดตามการด าเนินงานขององค์กรพยาบาล
การบริหารการพยาบาลหมายถึง การจัดการทางการพยาบาลและจัดระบบบริการพยาบาลเพื่อให้เกิดวิธีการให้การพยาบาลที่ปลอดภัยแก่ผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการรักษาพยาบาลเป็นสำคัญ (ประพิณ วัฒนกิจ;2541)
การบริหารการพยาบาล หมายถึง การกำหนดนโยบายวางแผน การจัดองค์กร (Organizing)การสั่งการ (Leading/Directing)
หรือการอำนวย และการควบคุมติดตามการดำเนินงานขององค์กรพยาบาล อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลครบถ้วนการบริหารและการจัดการมีความหมายใกล้เคียงและใช้แทนกันได้
ทฤษฎีและแนวคิดทฤษฎีการบริหาร: คำอธิบายสิ่งใดสิ่งหนึ่งยังไม่มีทฤษฎีใดที่สามารถช่วยอธิบายปรากฏการณ์ในการบริหารงานได้หมด อาจจำเป็นต้องใช้หลาย ๆ ทฤษฎีในการแก้ปัญหาหนึ่ง
2ทฤษฎีและแนวความคิดดัNงเดิมแบบสมัยใหม่ (Neo – Classical Theory
of Organization)
3.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบสมัยปัจจุบัน (Modern Theory of
Organization)
1.ทฤษฎีและแนวความคิดแบบดัNงเดิม (Classical Theory)
Gen
Gen. X
อายุตั้งเเต่ : 38 - 54 ปี
อุปนิสัย: กระตือรือล้น ชอบเเข่งขัน ชิงดีชิงเด่น สนใจเทคโนโลยี ภักดีต่อบุคคล
มากกว่าองค์กร
Gen. Y
อายุตั้งเเต่: 24 - 37 ปี
อุปนิสัย: ฉลาดในเทคโนโลยี มีความเป็นอิสระเเละโลกส่วนตัว สูงชอบคิดนอกกรอบ มีความทะเยอทะยานสูง ชอบงานที่สนุกท้าทาย มีความอดทนต่ำ พูดจาตรงไปตรงมา
Baby boomers
อายุตั้งเเต่ : 55 - 72 ปี
อุปนิสัย: สู้งานหนัก มุ่งความสําเร็จ ภักดีต่อองค์กรต้องการทํางาน
ต้องการการยกย่องชมเชย ภักดีต่อองค์กร
Gen. Z
อายุตั้งเเต่: 10 - 23 ปี อุปนิสัย: อยากได้ผลลัพธ์ทันที รอคอยไม่ได้ เวลาส่วนใหญ่อยู่ บนโลก
อินเทอร์เน็ต สิ่งที่ตนตั้งเป้าหมายเท่านั้น คิดว่าเพื่อนช่วยได้ทุกเรื่องเมื่อมีปัญหาเป็นยุคเเห่งการเรียกร้องสิทธิ
Builders
อายุตั้งเเต่ : 73 ปีขึ้นไป อุปนิสัย : ขยนั อดทครอบครัวเข้มเเข็ง เคร่ง ขนบประเพณีภักดีต่อองค์กร
ปัจจัยสำคัญการบริหารที่สำคัญมี 4อย่าง ที่เรียกว่า 4Ms ได้แก่
เงิน (Money)
วัสดุสิ่งของ(Materials)
การจัดการ (Management)
คน (Man)
ทฤษฎีการจัดการ (Management Theory) แต่ละศตวรรษ๑๘ ถึงศตวรรษ๒๑
ศตวรรษที่ 19 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Leadership Theories)ให้มองในสิ่งที่ผู้นำปฏิบัติ
ศตวรรษที่ 20
McGregor’s
Theory X
ไม่ชอบทำงาน พื้นฐานคนขี้เกียจ อยากได้เงิน อยากสบาย
Theory Y เป็นกลุ่มที่มองในแง่ดี เชื่อว่ามนุษย์มีความตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบมีความคิดสร้างสรรค์ และมีศักยภาพในตนเอง
Kurt Lewin’ s Studies Lewin
ผู้นำแบบประชาธิปไตย (Democratic Leaders)ใช้การตัดสินใจของกลุ่มรับฟังความคิดเห็นส่วนรวม ทำงานเป็นทีมมีการสื่อสารแบบ 2 ทาง ทำให้เพิ่มผลผลิตและความพึงพอใจในการทำงาน ใช้เวลานานในการตัดสินใจ ระยะเวลาที่เร่งด่วนผู้นำลักษณะนี้ไม่เกิดผลดี
ผู้นำแบบตามสบายหรือเสรีนิยม (Laissez- Faire Leaders)ไม่มีการกำหนดเป้าหมายที่แน่นอน ไม่มีหลักเกณฑ์ ไม่มีระเบียบ จะได้ผลผลิตต่ำ
ผู้นำแบบอัตถนิยมหรืออัตตา (Autocratic Leaders)จะตัดสินใจด้วยตนเอง ไม่มีเป้าหมายไม่มีความเชื่อมั่นในตัวเอง และไม่เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ศตวรรษที่ 18 Robert Owen ประกอบธุรกิจผ้าฝ้ายมีคนงานเป็นรากฐานการจัดการ
เชิงพฤติกรรม
ศตวรรษที่ 21 เบริน์ส์ (Burns)
เป็นวิธีการที่ผู้บริหารจูงใจผู้ตามให้ปฏิบัติตามที่คาดหวังให้รางวัล เพื่อการแลกเปลี่ยนกับความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมายของผู้ตาม
โครงสร้างระบบบริการ
สุขภาพ(จิตเวช)
( กฤตยา แสวงเจริญ , 2548 )
กระทรวง
สาธารณสุข
Primacy Care
รพช/ศสธ/สอ
สำนักงานปลัด
Secondary care
รพศ/รพท
กรมสุขภาพจิต
Tertiary care
รพ.จิตเวช
กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาล/ คลินิกเอกชน
โรงพยาบาลสังกัด ทบวงมหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลสังกัด กระทรวงกลาโหม
โรงพยาบาลสังกัด กระทรวงมหาดไทย
โรงพยาบาลสังกัดกรงุเทพมหานคร
ระบบสุขภาพและการเข้าถึงบริการ
2) ปัญหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบริกรสีบเนื่องจากการกระจาย
ทรัพยากรสาธารณสุขและบริการสาธารณสุข ที่ไม่เท่าเทียมกัน
3) ค่าใช้จ่ายด้าน สุขภาพ นั้นสูงขึ้นทุกปีเพราะค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ไปอยู่กับการซ่อม สุขภาพมากกว่าการสร้างสุขภาพ
1) ความไม่เท่าเทียมกันในการกระจายทรัพยากรสาธารณสุขและบริการ
สาธารณสุข
ระบบบริการสุขภาพและการรับรองคุณภาพ
Hospital Accreditation; HA: ระบบการพัฒนาและรับรองคุณภาพ เป็นระบบกลางในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล คู่สัญญามาตรฐานสถานพยาบาลคู่สัญญาในระดับต่าง ๆ (สาธารณสุขไทย,2550)
มาตรฐานโรงพยาบาลฉบับบูรณาการ
ในระดับโรงพยาบาล มี 6 หมวด, 20 องค์ประกอบ
5.สิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กร
6.การดูแลรักษาผู้ป่วย
4.การรักษามาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ
ประเด็นสำคัญในการประเมิน
ความร่วมมือระหว่างวิชาชีพในการ
วางแผนจําหน่าย
ความครบถ้วนขององค์ประกอบในการ
ดูแลต่อเนื่อง
ความพร้อมของผู้ป่วยทีจะดูแลตนเองต่อ
เนื่องได้ที่บ้าน
3.กระบวนการคุณภาพ
2.ทรัพยากร และการจัดการ
1.ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ความสำคัญ
การสร้างความอุ่นใจให้แก่ประชาชน
การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและต่อเนื่อง
การเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เหตุผลของการมีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พศ 2545
เป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องจัด และส่งเสริมการสาธารณสุขให้แก่ประชาชน
เป็นการแก้ปัญหาเรื่องความซ้ำซ้อนของระบบประกันสุขภาพในอดีต
เป็นการประกันสิทธิของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
เป็นการลดค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพด้วยระบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพ
สิทธิของประชาชนพ.ร.บ.
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
3.สิทธิได้รับบริการสาธารณสุขในกรณีฉุกเฉินที่สถานบริการ
อื่นๆ ได้นอกเหนือจากหน่วยบริการที่ลงทะเบียนไว้
4.สิทธิในการร้องเรียนเมื่อได้รับบริการสาธารณสุขที่ไม่ได้
มาตรฐาน
2.สิทธิเลือกหน่วยบริการประจำตัวที่มีมาตรฐานและสะดวก
ในการเข้ารับบริการ
5.สิทธิได้รับการช่วยเหลือเยียวยาเมื่อมีความเสียหายจากการเข้ารับบริการสาธารณสุข
1.สิทธิเข้ารับบริการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ
6.สิทธิในการมีส่วนร่วมกับการพัฒนาระบบประกันสุขภาพ
ยุทธศาสตร์
การสร้างระบบการส่งผ่านความรู้สุขภาพจิตแก่
ประชาชน
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพจิตในชุมชน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต
การพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพจิต
การพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร
กลไกการบริหารจัดการ
การจัดการด้านโครงสร้างองค์กร
การจัดการด้านกำลังคน
การจัดการด้านงบประมาณ
การจัดการด้านแผนงาน
ระบบการประเมินผล
ประเด็นแนวโน้มปัญหาสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร
พยาบาลและระบบสุขภาพและการเข้าถึงการบริการได้
2 .IT AI
3.การขาดความพร้อมในการมระบบบริการรองรับสัง คมผู้สูงู อายุ พยาบาล แพทย์
การขาดความพร้อมในโรคอุบัติใหม่
Gen ต่างกัน X y Z Alpha
ผุ้สูงอายุมีมากขึ้น เด็กเกิดน้อยลงและมีสมาธิสั้นมากขึ้น ผู้ป่วยเรื้อรัง โรค ความดันโลหิตมากขึ้น ผุ้ใช้สารเสพติดมากขึ้น คนป่วยเป็นโรคจิตมากขึ้นการดูแลเรื่องสุขภาพและความงามมากขึ้น สังคมบนโลกออนไลน์มากขึ้น ผู้รับบริการมีความต้องการมากขึ้น ดังนั้นบทบาทผู้บริหารทางการพยาบาลจะมีบทบาทมากขึ้น ทำงานมากขึ้นและขยายขอบเขตมากขึ้นด้วยต้องยึดหลักการบริหาร 4M หรือ POSCorRB จากเดิมที่ตั้งรับการดูแลรักษาพยาบาล ฟื้นฟู เป็นเน้นการป้องกัน “ สร้างนำซ่อม” และพยายามลดจ านวนผู้ป่วย (ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ,2559).
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาล (2562) หมวดที่ ๑ มาตรฐานการบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Organization)
มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
มาตรฐานที่ ๑ องค์กรและการบริหารองค์กร
มาตรฐานที่ ๓ ระบบบริการการพยาบาล
ข้อ ๒ มาตรฐานการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Standard of Nursing and Midwifery Service Organization)
มาตรฐานที่ ๑ การจัดองค์กรและการบริหารองค์กรบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล
มาตรฐานที่ ๓ การจัดระบบงาน และกระบวนการให้บริการการพยาบาล และการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
1) มีนโยบายและแผนงานการจัดการคุณภาพการพยาบาล และการผดุงครรภ์
2) มีระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
3) มีระบบประกันคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
4) มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement)
ข้อ ๑ มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Standard)
ข้อ ๓ มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล และการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Practiแe Standard) ปัญหาสุขภาพและปัญหาที่เกี่ยวข้องได้รับการ แก้ไขโดยพยาบาลและผดุงครรภ์ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานสภาพยาบาล
ข้อ ๔ มาตรฐานผลลัพธ์การพยาบาลและการผดุงครรภ์ (Nursing and Midwifery Outcome Standard)ความปลอดภัยจากความเสี่ยง ได้รับการบรรเทาจากความทุกข์ทรมานความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับภาวะสุขภาพสามารถในการดูแลตนเอง