Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Proximal jejunum perforation ลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุ, Proximal jejunum…
Proximal jejunum perforation
ลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุ
การผ่าตัด
Explore-lap with 3th-4th duodenectomy with proximal jejunal resection with SSA with feeding jejunostomy การผ่าตัดเปิดหน้าท้อง ร่วมกับการตัดลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัมและเจจูนัมร่วมกับการใส่สายอาหารทางลำไส้
Sign&symtomp
สัญญาณและอาการแสดงมักเกิดขึ้นกะทันหันบริเวณลิ้นปี่ทางด้านขวาซึ่งบ่งบอกถึงการทะลุงของแผลในลำไส้เล็กส่วนต้น โดยความเจ็บปวดจะเริ่มจากบริเวณที่ทะลุแล้วกระจายไปทั่วท้อง และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด อาการในภายหลังได้แก่ มีไข้และหนาวสั่น มีอาการหน้าท้องแข็งขึ้นโดยมีอาการกดเจ็บและปล่อยเจ็บและขนาดหน้าท้องจะขยาย
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
จากการติดเชื้อ H. pylori
การติดเชื้อ Helicobacter pylori (H. pylori): H. pylori เป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่พบในกระเพาะอาหาร (มักพบในผู้ที่มีอาการ) H. pylori กระตุ้นให้การผลิตกรดในกระเพาะอาหารเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบของลำไส้เล็กส่วนต้น การติดเชื้อ H. pylori มีหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเกิดลำไส้เล็กส่วนต้นอักเสบ :)
อายุ 77 ปี
อายุที่เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้เยื่อบุต่างๆบางลงส่งผล
ให้เกิดการอักเสบและทะลุได้ง่าย
ยาในกลุ่มสเตียรอยด์, ยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็ง
อีกสาเหตุที่พบได้บ่อยคือการใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (เช่น แอสไพรินและไอบูโพรเฟน) ติดต่อกันเป็นเวลานาน)
-ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (non-steroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs): ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์เป็นยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุด ยากลุ่มนี้อาจเพิ่มความเป็นกรดในกระเพาะอาหารและทำให้ชั้นเมือกปกป้องอ่อนแอลง ซึ่งมักจะเกิดขึ้นกับการใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในระยะยาวหรือแม้แต่การใช้ระยะสั้นในขนาดที่มากเกินไป ยากลุ่มต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ที่ใช้กันมากได้แก่ แอสไพริน ไอบูโพรเฟน และนาพรอกเซน
โรคประจำตัว ความดันโลหิตสูง โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
สาเหตุอื่นๆ: มีหลายปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดลำไส้เล็กส่วนต้นอักเสบ แต่ทุกคนที่มีปัจจัยเสี่ยงไม่จำเป็นจะต้องเป็นลำไส้เล็กอักเสบเสมอไป
การสูบบุหรี่
การใช้แอลกอฮอล์
โรคโครห์น (โรคที่มีการอักเสบของลำไส้ซึ่งเกิดได้กับทุกส่วนของลำไส้เล็ก)
ประวัติการรักษาด้วยการฉายรังสี
ความเครียดหรือเจ็บป่วยรุนแรง
การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา หรือไวรัส
การบาดเจ็บต่อกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็ก
Proximal jejunum perforation
ลำไส้เล็กส่วนต้นทะลุ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
อายุ 77 ปี
อายุที่เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้เยื่อบุต่างๆบางลงส่งผลให้เกิดการอักเสบและทะลุได้ง่าย
ยาในกลุ่มสเตียรอยด์,
ยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็ง
-ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (non-steroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs): ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์เป็นยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายที่สุด ยากลุ่มนี้อาจเพิ่มความเป็นกรดในกระเพาะอาหารและทำให้ชั้นเมือกปกป้องอ่อนแอลง ซึ่งมักจะเกิดขึ้นกับการใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ในระยะยาวหรือแม้แต่การใช้ระยะสั้นในขนาดที่มากเกินไป ยากลุ่มต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ที่ใช้กันมากได้แก่ แอสไพริน ไอบูโพรเฟน และนาพรอกเซน
อีกสาเหตุที่พบได้บ่อยคือการใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (เช่น แอสไพรินและไอบูโพรเฟน) ติดต่อกันเป็นเวลานาน)
สาเหตุอื่นๆ: มีหลายปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดลำไส้เล็กส่วนต้นอักเสบ แต่ทุกคนที่มีปัจจัยเสี่ยงไม่จำเป็นจะต้องเป็นลำไส้เล็กอักเสบเสมอไป
การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป
การบาดเจ็บต่อกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็ก
การสูบบุหรี่
ความเครียดหรือเจ็บป่วยรุนแรง
โรคโครห์น (โรคที่มีการอักเสบของลำไส้ซึ่งเกิดได้กับทุกส่วนของลำไส้เล็ก)
การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา หรือไวรัส
ประวัติการรักษาด้วยการฉายรังสี
การใช้แอลกอฮอล์
จากการติดเชื้อ H. pylori
การติดเชื้อ Helicobacter pylori (H. pylori): H. pylori เป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่พบในกระเพาะอาหาร (มักพบในผู้ที่มีอาการ) H. pylori กระตุ้นให้การผลิตกรดในกระเพาะอาหารเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบของลำไส้เล็กส่วนต้น การติดเชื้อ H. pylori มีหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเกิดลำไส้เล็กส่วนต้นอักเสบ
โรคประจำตัว ความดันโลหิตสูง โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
ข้อวินิจฉัยและการพยาบาล
2.เสี่ยงติดเชื้อที่แผลผ่าตัดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับการบาดเจ็บจากการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินดูลักษณะบาดแผล ได้แก่ รอยบวมแดง แผลแยก มีลักษณะ discharge สีผิดปกติ มีหนอง เพื่อประเมินการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
สังเกตลักษณะของ discharge ทุกครั้งที่ทำแผล
ทาแผลโดยยึดหลักปราศจากเชื้อทาแผลผ่าตัดแบบ dry dressing โดยใช้ สาลีชุบ NSS เช็ดบริเวณริมแผล suture วนจากด้านในออกด้านนอกรอบแผล ถ้ามีเลือดเปื้อนระหว่างรอยเย็บแผล เช็ดออกจนสะอาดแล้วจึงปิดแผล
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติ รักษาความสะอาดของร่างกายทั่วไป เช่น ผม ปาก เล็บ ฟัน และผิวหนัง เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลบาดแผล ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำ ไม่ใช้มือหรือวัตถุสิ่งของถูกต้อง บริเวณบาดแผล เพราะอาจจะเป็นการเพิ่มเชื้อโรคสู่บาดแผล
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงประเมินภาวะติดเชื้อที่แผล
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ผู้ป่วยไม่เกิดการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยดูแลบาดแผลได้อย่างถูกต้อง
อุณหภูมิร่างกายปกติ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
ลักษณะบาดแผลแห้ง ไม่บวมแดง ไม่มี discharge เป็นหนอง ไม่มีกลิ่นเหม็น
ข้อมูลสนับสนุน
ผล WBC 22,050 cell/uL (ค่าปกติ 4,400-11,300 cell/uL)
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Explore-lap with 3th-4th duodenectomy with proximal jejunal resection with SSA with feeding jejunostomy เมื่อวันที่13 เมษายน 2562
1.ผู้ป่วยมีความไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็คโทรไลต์ในร่างกาย เนื่องจาก มีการคลื่นไส้อาเจียน
เกณฑ์การประเมินผล
ค่าอิเล็กโทรไลท์ในร่างกายปกติ
Bicarbonate 22-29 mmol/dl
Chloride 98-107 mmol/dl
Sodium 135-145 mmol/dl
Potassium 3.5-5.1 mmol/dl
ปริมาณ intake และ output สมดุล
ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาและสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
บันทึกปริมาณ output ทุกเวรได้แก่ปัสสาวะและสิ่งคัดหลั่งจากแผลรูทะลุ โดยใช้ถุงรองรับสิ่งขับถ่าย เพื่อให้สามารถตวงปริมาณสิ่งคัดหลั่งได้ครบถ้วนทุกช่องและสามารถสังเกตลักษณะของสิ่งคัดหลั่งได้อย่างชัดเจน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและรายงานแพทย์ทราบกรณีผลการตรวจห้องปฏิบัติการผิดปกติ
1.ประเมินอาการและอาการแสดงอิเล็กโทรไลต์ละอิเล็กโทรไลต์
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วย มีอาการถ่ายเหลว 5 ครั้ง และคลื่นไส้อาเจียน 2 ครั้ง
ผลอิเล็คโทรไลน์ผิดปกติ คือ potassium น้อยกว่า 3.5 (3.08) mmol/dl
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ผู้ป่วยมีความสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
3.เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของการใส่ท่อช่วยหายใจ
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ไม่มีอาการบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
กิจกรรมการพยาบาล
2.ป้องกันการเกิด Tissue Necrosis โดยใช้หลัก Minimal Leak Technique
4.ระวังไม่ให้สายดึงรั้ง
1.ดูแล Mouth care อย่างน้อยเวรละ1ครั้ง
3.ป้องกันการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจโดยติดmicropore
5.ป้องกันแก้ไขอาการบาดเจ็บของทางเดินหายใจ
7.ป้องกันการดึงท่อโดยการผูกมัดอย่างระมัดระวัง
6.ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วย on ET-tube No.7.5 ลึก 22 with ventilator mode CPAP 7 cmH2o PS 12 Fio2 = 0.35
ผู้ป่วยเคยมีประวัติโรคพร่องออกซิเจน (COPD)
วัตถุประสงค์
การพยาบาล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของการใส่ท่อช่วยหายใจ
5.มีโอกาสเกิดโรคซ้ำเนื่องจาก
ขาดความรู้ความเข้าใจในโรคที่เป็นอยู่
กิจกรรมการพยาบาล
3.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ทำให้เกิดการระคายเคือง และอักเสบ ของเยื่อบุทางเดินอาหารเช่น ยาชุดแก้ปวดกล้ามเนื้อ
หลีกเลี่ยงการซื้อยามารับประทานเอง หากมีปัญหาทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์
ประเมินความเข้าใจโดยถามซ้ำอีกครั้ง
4.แนะนำให้ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนได้แก่ เลือดออก ทะลุ อุดตัน ติดเชื้อ ถ้ามีอาการผิดปกติ เช่น อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายดำ ปวดแน่นท้อง รับประทานอาหารไม่ได้ คลื่นไส้ อาเจียนมาก หรือมีไข้ควรรีบมาพบแพทย์ เพื่อให้การตรวจวินิจฉัย และให้ความช่วยเหลือได้ทันท่วงที
1.ประเมินความรู้ของผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรคพบว่ามีความรู้น้อย
2.แนะนำให้พักผ่อนเพียงพอทั้งร่างกายและจิตใจ ลดภาวะเครียด และความวิตกกังวลต่าง ๆ
ข้อมูลสนับสนุน
สอบถามผู้ป่วย ไม่ทราบสาเหตุการป่วยในครั้งนี้
ผู้ป่วยใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคแผลในลำไส้เล็กและสามารถปฏิบัติตัวได้ อย่างถูกต้อง
ทบทวนการปฏิบัติตัว ผู้ป่วยและญาติตอบได้ถูกต้อง
วัตถุประสงค์
การพยาบาล
ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคลำไส้ทะลุ
4.เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกหยุดยาก
กิจกรรมการพยาบาล
3.เจาะเลือดเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของค่าต่างๆเช่น Hct , MCV , MCH , MCHC และINR เพื่อประเมินภาวะซีด และภาวะเลือดแข็งตัวนานกว่าปกติ
2.สังเกตอาการ เพื่อเฝ้าระวังการเสียเลือดในร่างกาย ได้แก่ กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ท้องอืด บริเวณผิวหนังมีเลือดซึม
4.ประเมินปัสสาวะที่ออก ทุก 1 ชั่วโมง ถ้ามีความผิดปกติให้รายงานแพทย์ทันที
1.ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที 1 ชั่วโมง ทุก 30 นาที 1 ชั่วโมง จนสัญญาณชีพปกติ เพื่อประเมินอาการเลือดออก
5.ดูแลให้ยาทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาของแพทย์
เกณฑ์การประเมิณผล
ปัสสาวะมีสีเหลืองปกติ
ระดับความรู้สึกตัวดี ไม่มีอาการสับสน
ไม่มีอาการเลือดซึมบริเวณร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีภาวะโลหิตจาง
จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า MCV น้อยกว่า 80 FL ( 75.3 FL )
ค่า MCH น้อยกว่า 26 pg ( 23.3 pg )
ค่า MCHC น้อยกว่า 33 g/dL ( 30.9 g/dL )
ผู้ป่วยมีการแข็งตัวของเลือดนานกว่าปกติ จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า INR มากกว่า 1.12 ( 1.15 )
ผู้ป่วยปัสสาวะสีน้ำตาล
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะเลือดออกหยุดยาก
Sign&symtomp
สัญญาณและอาการแสดงมักเกิดขึ้นกะทันหันบริเวณลิ้นปี่ทางด้านขวาซึ่งบ่งบอกถึงการทะลุงของแผลในลำไส้เล็กส่วนต้น โดยความเจ็บปวดจะเริ่มจากบริเวณที่ทะลุแล้วกระจายไปทั่วท้อง และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด อาการในภายหลังได้แก่ มีไข้และหนาวสั่น มีอาการหน้าท้องแข็งขึ้นโดยมีอาการกดเจ็บและปล่อยเจ็บและขนาดหน้าท้องจะขยาย
การรักษา
พ่นยา Berodual 1 NB stat
การผ่าตัด Explore-lap with 3th - 4th duodenectomy with proximal jejunal resection with SSA with feeding jejunostomy การผ่าตัดเปิดหน้าท้อง ร่วมกับการตัดลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัมและเจจูนัมร่วมกับการใส่สายอาหารทางลำไส้
CxR
EKG 12 lead
On ET tube No 7.5 ลึก 22 cm. with ventilator mode CPAP 7 CMH2O Pressure support 12 CMH2O FiO2 0.4
I/O
On foley’s cath No.16
Clotting time , Cardiac enzyme , Thyroid function test
NPO
Abdomen X-ray
การตรวจผล Lab> CBC , BUN , Cr , Electrolyte , Urinalysis
ให้ IV 0.9% NSS 1000 ml.
พยาธิสรีรวิทยา
สาเหตุ การใช้ยาสเตียรอยด์ + อายุ77ปี
เนื้อเยื่อบุต่างๆของผนังลำไส้เล็กบางลง
สูญเสียความสามารถในการป้องกันกรดในทางเดินอาหารที่หลั่งมาเพื่อย่อยอาหาร
มีการทำลายเซลล์เยื่อบุเป็นผลให้hydrogen ion สามารถเข้าสู่เยื่อบุได้
Histamine กระตุ้นการหลั่งกรดเพิ่มขึ้น
กระตุ้นเยื่อบุลำไส้ให้หลั่งน้ำและเกลือแร่จากร่างกายสู่ลำไส้มากกว่าปกติ
ถ่ายเหลวเป็นน้ำ+อาเจียน
หลอดเลือดขยายตัวและเพิ่มการซึมผ่านของหลอดเลือดฝอย
เยื่อบุลำไส้เกิดการบวม+สูญเสียโปรตีน
เกิดวงจรการทำลายตัวเองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
1 more item...
WBC 22,050 cell/ul
Neutrophil 88 %
Lymphocyte 7%
การกรองของไตผิดปกติ
มีปัสสาวะสีน้ำตาล
MCV 73.3 fl
MCH 23.3 pg
MCHC 30.9 g/dl
PTT 24.7
INR 1.15
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย+มีประวัติเป็นCOPD
หายใจหอบเหนื่อย
Chief complaint
ปวดมวนท้อง ถ่ายเหลวเป็นน้ำ 1วันก่อนมาโรงพยาบาล