Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาปฏิชีวนะและยาต้านจุลชีพ, 4I - Coggle Diagram
ยาปฏิชีวนะและยาต้านจุลชีพ
Cycloserine
เป็น analog ของ D-Ala
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ peptidoglycan
ยามีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ
ผลข้างเคียง
ปวดศรีษะ
ชัก
พิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ทำให้เกิดการสั่น
สับสน
มีอาการโรคจิต
ยาปฏิชีวนะ [Antibiotics]
กลไกการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะต่อแบคทีเรีย
1.ขัดขวางการสร้างผนังเซลล์
Penicillins
Cephalosporins
ออกฤทธิ์ดีมากในระยะที่จุลชีพเจริญเติบโต
ระยะพักจะออกฤทธิ์ไม่ดีเท่าที่ควร
ขัดขวางการทำงานของเยื่อหุ้มเซลล์
Polypeptide
Antibiotic
Antifungal
Antibiotic
ออกฤทธิ์ทันทีที่สัมผัสกับจุลชีพ
ขัดขวางการสร้างโปรตีนในเซลล์
Macrolide
Antibiotic
Aminoglycoside
Tetracyclines
Chloramphenicol
ขัดขวางการสร้างกรดนวิคลีอิค
Griseofulvin
Rifampicin
ทำให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิดปกติ
Aminoglycosides
เป็นสารสกดัจากจุลนิทรีย์บางชนิด
สามารถยับการเจริญเติบโตของเชื้อโรค(Bacteriostatic)
ทำให้เชื้อโรคตายได้ (Bactericidal)
Fosfomycin
กลไกการออกฤทธิ์
เป็นยากิน
ยับยั้ง enol pyruvate trnasferase ในแบคทีเรีย
มีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบ
ยาถูกขับออกทางเดินปัสสาวะ
ยามีผลน้อยมากต่อแบคทีเรียแกรมลบ
ผลข้างเคียง
พบได้น้อย:ปวดศรีษะ อาเจียน อุจจาระร่วง
ยายับยั้ง β-lactamase (β-lactamase inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง β-lactamase ชนิด (class ) A
ไม่มีผลต่อ β-lactamase ชนิด B, C และ D เมื่อให้ยา
เหล่าน้ีอย่างเดียวจะไม่มีผลต่อแบคทีเรียแต่ต้องใช้ร่วมกับβ-lactamsเช่นpenicillinsปัจจุบันใช้ยาเหล่าน้ีผสมกับยายับยั้งการสร้างผนังเซลล์อื่นเช่น amoxicillin+clavulanate (Augmentin®) เป็นยากิน
ยายับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนในแบคทีเรีย
ประโยชน์ทางการใช้
1.ใช้รักษาการติดเชื้อแกรมลบที่มาจากทางเดินอาหาร
2.เชื้อแกรมลบที่ดื้อต่อ gentamicin อาจตอยสนองต่อ amikacin
3.ยา aminoglycoside ไม่มีผลต่อ Burkholderia pseudomallei และไม่ครอบคลุมเชื้อ anaerobes
4.ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียขึ้นกับความเข้มข้นของยาในเลือด
ผลข้างเคียง
1.พิษต่อไต nephrotoxicity
2.พิษต่อหู Ototoxicity
3.ปิดกั้นปิดกั้นneuromuscular junction ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงคล้ายอัมพาต
ใช้ยาในหญิงมีครรภ์อาจทำให้เกิดพิษต่อcranial nerve VIII ดังนั้นควรใช้ยาอย่างระมัดระวัง
5.ยาaminoglycosidesมีผลข้างเคียงท่ีร้ายแรงโดยเฉพาะต่อหูและไตดังน้ันควรติดตามระดับยาในกระแสเลือด
6.Netilmicinมีพิษต่อไตน้อยท่ีสุดในกลุ่มamino glycosides ยาน้ีมีขอบเขตต่อเชื้อแกรมลบ คล้าย amikacin
กลไกการดื้อยา aminoglycosides
เกิดจากเอนไซม์ trasferase ซึ้งสร้างโดยเชื้อ gene ท่ีคุมการสร้างเอนไซม์นี้ถูกถ่ายทอดสู่
แบคทีเรียตัวอื่นทางพลาสมิด
2.การลดการขนส่งยาเข้าแบคทีเรีย
3.การเปลี่ยนโครงสร้างของไรโบโซมหน่วยย่อย 30s จนทำให้ยาจับได้ไม่ดี
Amino glycoside
ได้แก่ amikasin, netilmycin, neomycin, tobramycin, gentamycin, streptomycin
กลไกการออกฤทธิ์
ยามีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบ
ทำให้ยาผ่านเยื่อ cytoplasmic เข้าสู่ Cytoplasm แล้วยาจับกับไรโบโซมหน่วยย่อย30sอย่างถาวร
ทำให้มีการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนในระยะเร่ิมต้น (initiation step)
ทำให้เกิดความผิดพลาดในการอ่าน mRNA (mRNA misreading)
aminoglycoside มีฤทธ์ิฆ่าแบคทีเรีย (bacteriacidal)
เภสัชจล
ศาสตร์
1.มีขั่วมากเพราะมีประจุบวกมากในโมเลกลุเป็นเบสและละลายในนํ้าทำให้ไม่ดูดซึมจากทางเดินอาหารจึงนิยมให้ทางหลอดเลือดดำ
2.ยากระจายตัวได้ดีในร่างกายแต่ไม่เข้าสมองและไม่สะสมในไขมันยาสะสมอย่างมากในไตและ endolymphในหูชั้นในทำให้ยามพิษต่อไตและหู
ยาถูกขับออกจากร่างกายในรูปไม่เปลี่ยนแปลงทางปัสสาวะ ต้องปรับลดขนาดยาในผู้ป่วยท่ีมีความบกพร่องของไต
4.ยาaminoglycosideเป็นยาฉีด(IV)เพราะยาไม่ถูกดูดโดยการกินยกเว้นneomycin ซึ่งไม่สามารถให้โดยการฉีดได้เพราะมีพิษต่อไตมากแต่ใช้เป็นยาทาผิวหนังและกินเพื่อทำลาย เชื้อในลำไส้ก่อนการผ่าตัด
ยาต้านแบคทีเรีย
ยากลุ่มยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
ยา β-lactam
Penicillins Natural penicillins
ได้แก่ penicillin G และ penicillin V
ยาที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อ staphylococci
ได้แก่ Cloxacillin, oxacillin, methicillin, nafcillin
ยาที่มีขอบเขตการต้านแบคทีเรียที่ขยายกว้าง
ได้แก่ Amoxicillin, ampicillin
ยาที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อ pseudomonas
ได้แก่ Ticarcillin, carbenicillin, piperacillin
Carbapenems
ได้แก่ Meropenam, ertapenem, imipenem
Monobactams
ได้แก่ Aztreonam
Cephalosporins
รุ่นที่1 Cefadroxil, cefazolin, cephalexin, cephalothin, cephapirin, cephradine
รุ่นที่2 Cefaclor, cefamandole, cefmetazole, cefonicid, cefotetan, cefoxitin,cefprozil, cefuroxime
รุ่นที่3 Cefdinir, cefixime, cefoperazone, cefotaxime, ceftibuten, ceftizoxime,ceftriaxone
รุ่นที่4 Cefepime, cefpirome
Glycopeptides
ได้แก่ vancomycin, teicoplanin
ยาอื่นๆเช่น ยาปิดกั้น bactopenol
ได้แก่ bacitracin
ยับยั้ง EPT ได้แก่ Fosfomycin
สารที่มีโครงสร้างคล้าย Alanine ได้แก่ Cycloserine
10.ยายับยั้ง β-lactamase
ได้แก่ clavulanic acid, sulbactam, tazobactam
11.ยาที่ทำลายเยื่อหุ้มเซลล์
ได้แก่ polymycin A/B
Penicillins
คุณสมทั่วไป
ได้มาจากเชื้อรา Penicillium chrysogenum (หรือ P. notatum) ยา penicillin แบ่งเป็น4กลุ่ม
กลไกการออกฤทธิ์
ยา penicillins ผ่านนผนังเซลล์แบคทีเรียแล้วไปจับกับ penicillin-binding proteins (PBP) ซึ่งอยู่บน cytoplasmic membrane
ทำให้เซลล์แบคทีเรียแตกสลาย(lysis)
ยับยั้งเอนไซม์transpeptidaseซึ่งเป็นเอนไซม์PBPทำให้ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์(cellwall)
กลไกการดื้อยา penicillin มี3 กลไกหลัก
1.การสร้างβ-lactamaseเพื่อทำลายยาการเปลี่ยนแปลงPBPทำให้ยาจับได้น้อยลงและการเปลี่ยนแปลงporinsทำให้ยาผ่านเข้าได้น้อยลง
2.ยาไม่มีผลต่อแบคทีเรียท่ีไม่มผนังกั้นเซลล์หรือแบคทีเรียท่ีอยู่ในระยะท่ีไม่ได้เจริญเติบโต
โดยปกติยา penicilins จะไม่ข้าสมอง ยกเว้นเมื่อเกิดการอักเสบ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis)ทำให้ยาสามารถผ่านเข้าสมองได้
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมจากทางเดินอาหารไม่แน่นอนข้ึนกับปริมาณกรดในกระเพาะอาหารและความสามารถของยาในการทนกรด
ยาจับกับโปรตีนในอาหารทำให้การดดูซึมน้อยลง
การดูดซึมยาจะน้อยลงเมื่อรับประทานพร้อมอาหาร (ยกเว้น amoxicillin)
ควรกินยาตอนท้องว่าง (1 ชั่วโมงก่อนอาหาร
หรือ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร)
ยาส่วนใหญ่ถกู ขับในรูปเดิมท่ีไม่เปลี่ยนแปลงทางปัสสาวะ โดยการกรอง (glomerular filtration) และการขับออก ทางท่อไต (tubular secretion)
ยกเว้นnafcilinและampicillinถูกทกลายท่ีตับและขับออกทางน้ำดีการให้ยาprobenecidร่วมกับpenicillinsทำให้ยับยั้งการขับpenicillinsออกทางท่อไต ทำให้ยาอยู่ในกระแสเลือดนานข้ึน
การพยาบาล
1.ก่อนเร่ิม dose แรก ควรถามประวัติการแพ้ยาก่อน ถ้ามีประวัติการแพ้ควรเขียนไว้ใน OPD card
รายงานหรือkardexผู้ป่วยทีมปีระวัติแพ้ง่ายแม้จะเป็นสารอื่นก็ต้องระวังเป็นพิเศษ
2.ตรวจสอบวิธีการใช้ยาวิถีทางให้ชัดเจนเพราะยาบางอย่างฉีดเข้าหลอดเลือดดำไม่ได้ฉะน้ันแม้จะ ฉีดเข้ากล้ามเน้ือ ก็ต้องระมัดระวังอย่าให้ปลายเข็มแทงเข้าไปในหลอดเลือดเป็นอันขาด
การฉีดเข้ากล้ามเน้ือ ควรเลือกกล้ามเน้ือท่ีใหญ่และหนา ต้องฉีดให้ลึก เพราะยาจะระคายเคืองทำให้เจ็บปวดมาก
การฉีดเข้าเส้นเลือดดำควรเลือกเส้นท่ีใหญ่พอสมควร เลือกเข็มท่ีเล็กและคมการเจือจางยา พอสมควรจะช่วยลดการอักเสบของหลอดเลือดดำได้มาก
5.เตรียมเครื่องใช้สำหรับการช่วยเหลือฉุกเฉินให้พร้อมเสมอในกรณีท่ีเกิดการแพ้แบบAnaphylactic reaction
6.ไม่ควรผสมกับยาอื่นพร้อมกัน เพราะอาจเกิดปฏิกิริยาทีไม่ต้องการได้ เช่น ฉีด penicillin ขณะที
กำลังให้ sodium bicarbonate หยดทางหลอดเลือดดำอยู่โดยฉีด I.V. line เดียวกัน penicillin จะ ถกูทำลายเพราะpHจะเปลี่ยนไป
7.PenicillinGเมื่อผสมกับนํ้ากลั่นแล้วจะคงทนได้นาน1วันในอุณหภูมิแต่จะอยู่ได้นาน1 สัปดาห์ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นถ้าผสมแล้วใช้ไม่หมดควรเก็บไว้ในตู้เย็นแล้วเขียนวันเวลาท่ีผสมยากำกับไว้
8.Penicillin ที่ผสมกับ 5% Dextrose ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นจะอยู่ได้นาน24ชม. ถ้าอยู่ในอุณหภูมิห้อง ฤทธิ์ยาจะเสื่อมลงอย่างรวดเร็วถ้า pH อยู่ระหว่าง 5.5-6.5
ประโยชน์ในการใช้
Natural penicillins มีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวกเป็นส่วนใหญ่ เชื้อที่ไวต่อยา
ผลข้างเคียง
1.ปฏิกิริยาการแพ้
2.ชัก
3.อาการทางระบบทางเดินอาหาร
4.เลือดจางเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก
5.ไตอักเสบ
6.พิษจาก cation ถ้าให้ยาในขนาดสูงมากอาจทำให้เกิดภาวะคั่งของ sodium หรือ potassium
ยา penicillins ท่ีสามารถต้านเชื้อ staphylococcus
ประโยชน์การนำไปใช้
มีขอบเขตการต้านแบคทีเรีย
ควรใช้เฉพการรักษาการติดเชื้อ
ผลข้างเคียง
-เหมือนกับnaturalpenicillins
-Methicillinทำให้เกิดไตอักเสบจึงเลิกใช้ยาน้ีในคนแล้ว
-MethicillinกับNafcillinอาจทำให้เม็ดเลือดขาวชนิดgranulocytesต่า (granulocytopenia) โดยเฉพาะในเด็ก
-Oxacillinอาจทำให้ตับอักเสบ(hepatitis)
Penicillins ท่ีมีขอบเขตการต้านเชื้อที่ขยายออกไป
ประโยชน์การนำไปใช้
ใช้เป็นตัวเลือกแรก (first-line drug) ในการรักษาหูชั้นในอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (acute sinusitis) และหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (acute bronchitis)
โรคแผลในกระเพาะอาหาร (peptic ulcer) ใช้ amoxicillin ร่วมกับ clarithromycin และ proton pump inhibitor เพื่อกำจัดเชื้อHelicobacter pylori
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ (urinary tract infection, UTI) ท่ีเกิดจากเชื้อproteus, E coli หรือ enterococci
การติดเชื้อSalmonella โดยเป็นตัวเลือกรองจาก cephalosporin
ผลข้างเคียง
เหมือนกับ penicillins
การใช้ ampicillin ในผู้ป่วยโรค mononucleosis อาจทำให้เกิดผื่น
Ampicillin อาจทำให้เกิดผื่น pseudo membranous colitis
Penicillins ท่ีสามารถต้านเชื้อ Pseudomonas
ผลข้างเคียง
ยับยั้งการทำงานของเกร็ดเลือด(Plateletdysfunction)
การแพ้ยา
ยาที่ใช้รักษาการติดเชื้อ Pseudomonas arieruginosa มีดังนี้
-ตัวเลือกที่1 (1st-line choice)
-ตัวเลือกที่2 (2nd-line choice)
ตัวเลือกที่3 (3rd-line choice)
Cephalosporins
Monobactam ตัวอย่างยา aztreonam
กลไกการออกฤทธิ์
-เหมือนpenicillinsและยาน้ีเป็นยากลุ่ม β-lactams
Aztreonam
-ใช้เป็นชาฉีด
-ยาถูกขับทางปัสสาวะ
-ยามีผลฆ่าแบคทีเรีย
-ยาไม่มีผลต่อแบคทีเรียแกรมบวก
ผลข้างเคียง
ผื่น skin rash
เอนไซม์จากตับสูง
รบกวนทางเดินอาหาร
Glycopeptides
-ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ vancomycin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งกระบวนการpolymerizationของสายpeptidoglycan
ยามีฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรีย(bacteriacidal) แกรมบวกทุกชนิด
ปัจจุบันยานี้สงวนไว้สำหรับการติดเชื้อรุนแรงที่เกิดจากStaphylococcusaureusที่ดื้อต่อmethicillinและ แบคทีเรียแกรมบวกอื่นๆ
ผลข้างเคียง
ไข้หนาวสั่น Fever and chils
ช็อก
Red man’s syndrome ซึ้งมีอการหน้าแดง ความดันเลือดตํ่า โดยเฉพาะเมื่อฉีดยาเร็วๆ เช่ือว่าเกิดจาก การกระตุ้นการหลั่งhistamine
พิษต่อหู Ototoxicity
พิษต่อไต ซึ้งพบน้อย
ยาอื่นๆที่ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์
Bacitracin
-ใช้รักษาแบคทีเรียแกรมลบ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์โดยไปยับยั้งการเสียหมู่ฟอสเฟต (dephosphorylation) ของ bactropenol pyrophosphate
ยาไม่ถูกดูดซึม
ผลข้างเคียง
ผื่น คลื่อไส้
Cephalosporins แบ่งเป็น4รุ่น
Cephalosporins รุ่นที่1 ยากินได้แก่ cephalexin (keflex®) และ cephadroxil มีฤทธ์ิ ครอบคลมุแบคทีเรีย
Cephalosporins รุ่นท่ี 2 ยากินได้แก่ cefaclor, cefuroxime axetil, loracarbef และ cefprocil ยาฉีดได้แก่ cefotetan, cefoxitin และ cefuroxime ควบคุมแบคทีเรียคล้าย Cephalosporin รุ่นที่1
3.Cephalosporins รุ่นที่3
-ยากิน ได้แก่ Cefixime,cefpodoxime,cefdinir,ceftibuten
-ยาฉีด ได้แก่ Cefoperazone,cefotaxime,ceftazidime,ceftzoxime
-ครอบคลุมแบททีเรียแกรมลบ
Cephalosporins รุ่นที่4
-ตัวอย่างยาได้แก่ cefepime,cefpirome ใช้ฉีดเท่านั้น**
ยามีฤทธ์ิขยายขอบเขตต่อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบมากข้ึน เมื่อเทียบกับรุ่นท่ี 3 โดยเฉพาะเชื้อPseudomonas ท่ีสร้าง β-lactamase (ยาทนต่อเอนไซม์น้ีมากข้ึน)
ประโยชน์การนำไปใช้
รักษาการติดเชื้อ pneumococci ท่ีดื้อต่อ penicillins โดยใช้เป็นตัวเลือกรองจาก ceftriaxone
ใช้ Imipenem หรือ meropenem ร่วมกับ tobramycin รักษาการติดเชื้อPseudomonas โดยเป็น ตัวเลือกอันดับ 3
รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะท่ีเกิดจาก Enterobacter (แกรมลบทรงแท่ง) ใช้เป็นตัวเลือกอันดับ 1
ผลข้างเคียง
การแพ้ยา
พิษต่อไต
Disulfiram-like reactions
Coombs’test
Hypothermia
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับ peniciilin binding protein (PBP)
ยับยั้ง transpeptidase ใน PBP
กระตุ้นเอนไซม์ autolysinทาํให้แบคทีเรียย่อยสลายตัวเองมากข้ึน
คุณสมบทั่วไป
เป็นยาปฏิชีวนะกล่มุ β-lactams โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน lactam (lactam ring)
สกัดจากเชื้อรา cephalosporium acremonium
มีฤทธ์ิฆ่าแบคทีเรีย (bacteriacidal activity)
cephalosporin ทุกไม่มีผลต่อเชื้อต่อไปน้ี
Methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA), Enterococcus faecalis, Listeria monocytogenes, Legionella และ clostridium difficile
Cephalosporins ส่วนมากถูกขับออกทางปัสสาวะโดยการกรองท่ีไต (glomerular filtration) และการขับออกทางท่อในไต (tubular secretion) ในรปู ท่ีไม่เปลี่ยนแปลง การขับออกทางท่อไตถูกยับยั้งโดย probenecid
Cephalosporins ท่ีถูกออกทางนํ้าดี คือ cefoperazone และ ceftriaxone
ยา 2 ตัวน้ี นิยมใช้ในผู้ป่วยโรคไตโดยไม่ต้องปรับลดขนาดยา
การพยาบาล
1.ซักประวัติ
2.ถ้าฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะปวดมาก หากจำเป็นให้หลีกเลี่ยงกล้ามเนื้อมัดใหญ่
3.การฉีดเข้าหลอดเลือดดำมักพบการอักเสบ หลักเลี่ยงโดยการเจือจาง หรือ หยอดช้าๆ
4.cephalotin ควรหยดให้หมดในเวลาไม่เกิน24ชม.
4I