Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บทรวงอก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บทรวงอก
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การบาดเจ็บหลายระบบเป็นการบาดเจ็บของ
อวัยวะร่วมกันตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป
คือการช่วยให้รอดชีวิต ซึ่งต้องทำโดยเร็วที่สุดด้วยการประเมินสภาพและ
ให้การรักษาเบื้องต้นอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
พยาธิสรีรวิทยา
2.การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมดิแอสตินั่ม
3.ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด(Air emboli)
1.การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่องเยื้อหุ้มปอด
4.การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่องเยื้อหุ้มหัวใจ
อาการและอาการแสดง
มีบาดแผลที่ทรวงอด
ทรวงอกผิดปกติ การเคลื่อนไหวผิดปกติขณะหายใจ
มีภาวะขาดออกซิเจน ริมฝีปาก ปลายมือปลายเท้าเขียว
ผนังทรวงอกบวมนูน
หายใจลำบาก หายใจตื้น กระวนกระวาย
คลำได้ crepitation ใต้ผิวหนัง
เจ็บเมื่อหายใจเข้า เจ็บเมื่อเคลื่อนไหว
ไอเป็นเลือด
เจ็บหน้าอกตำแหน่งที่บาดเจ็บ กดเจ็บ
ชีพจรเบา ความดันโลหิตต่ำอย่างรวดเร็ว
ภาวะอกรวน(Flail chest)
เกิดจากการที่ซี่โครงหัก 2 ตำแหน่งในซี่โครงซี่เดียวกัน ติดต่อกันตั้งแต่ 3 ซี่ขึ้นไป ทำให้บริเวณที่เป็น segment นั้นมีการเคลื่อนตัวต่างไปจากทรวงอกบริเวณอื่น (paradoxical chest movement)
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอกรุนแรง
4.หายใจลำบาก
2.กดเจ็บคลำได้กระดูดกรอบแกรบเวลาที่หัก
5.หายใจเร็วขึ้น
Hypoxia
6.Paradoxical Respiration
การรักษา
บรรเทาอาการปวด ไอขับเสมหะออก ลดภาวะปอดติดเชื้อ
การดามอก
ให้ได้รับออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-ไม่สุขสบายเนื่องจากปวด
-วิตกกังวลเนื่องจากได้รับบาดเจ็บรุนแรง
-เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากการขยายตัวของปอดไม่มีประสิทธิภาพ
-เสี่ยงต่อภาวะช็อคจากการปริมาณการไหลเวียนเลือดลดลง
ใส่สายระบายทรวงอก
การระบายทรวงอกหมายถึง เอาสารเหลวหรือลมออกจากเยื่อหุ้มปอด
การใส่สายระบายทรวงอก หมายถึง ระบายสารเหลวหรือลืมออกจากเยื่อหุ้มปอด
การดูแลระบบท่อระบายทรวงอก
ตัวผู้ป่วย
ทำแผลอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเห็นของแพทย์ผู้รักษา
ปิดผนึกท่อระบายทรวงอกเข้ากับทรวงอกให้แน่นหนาเพื่อป้องกันการหลุดของสายระบายทรวงอก
ทำความสะอาดด้วยวิธีปลดเชื้อและเปลี่ยนgauze ปิดแผลอย่างน้อย ทุก2-3วัน กรณีไม่มีการซึมเปื้อนและแผลแห้งดี
ตัวหนอนเชื่อม
เช็คว่าไม่มีการอุดตัน หรือการหัก พับ งอของสายต่างๆ ในระบบท่อระบายทรวงอก
ความผิดปกติขึ้นอยู่กับผู้ป่วย เช่น เหนื่อยมากขึ้น หายใจลำบาก ทำให้การตรวจเช็คระบบท่อระบายทรวงอกเสมอว่ามีการรั่ว
เช็ครอยต่อต่างๆ ไม่มีการรั่วซึม หลุด ยึดรอยต่อทุกตำแหน่งให้แน่นหนา
ขวดระบายทรวงอก
ตรวจสอบให้การต่อท่อของระบบ under water sealed system ให้เหมาะสม
วางขวดระบายทรวงอกให้อยู่ต่ำกว่าระดับทรวงอกของผู้ผ่วยเพื่อป้องกันการดูดกลับของน้ำจากขวดระบายย้อนกลับเข้าไปในทรวงอกของผู้ป่วย
เลือกใช้ขวดระบายทรวงให้เหมาะสมกับภาวะของผู้ป่วย
การดูแล
จัดเตรียมคีมสำหรับหนีบท่อระบายทรวงอก
ไม่ควรหนีบสายท่อระบายทรวงอกในขณะที่ผู้ป่วยยังใช้
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-เสี่ยงต่อภาวะปอดแฟบเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจและการขับเสมหะลดลงจากการเจ็บตึงแผลบริเวณใส่ท่อระบายมรวงอก
-เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
-เสี่ยงต่อการติดเชื้อแผลใส่ท่อระบายทรวงอกและในช่องเยื่อหุ้มปอดเนื่องจากเป็นหัตถการ Invasive Procedure
-เสี่ยงต่อภาวะเซลล์ของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากการระบายอากาศในถุงลมลดลง
เอกสารอ้างอิง
สถิติอุบัติเหตุบนท้องถนนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
[อินเทอร์เน็ต].BBC NEWS; 2561.[วันที่อ้างถึง 22 ธ.ค.2561].
ที่มา:
https://www.bbc.com/thai/international
นวลทิพย์ ธีระเดชากุล, นุชศรา พรมชัย และนงลักษณ์ พลแสน. ประสิทธิผลการพัฒนาการ
ดูแลผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บหลายระบบด้วย MultipleInjury Nursing Management
Guideline. ว.การแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์.2561;33: 165-77
วิจิตรา กุสุมภ์. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต :แบบองค์รวม (CRITICAL
CARE NURSING: A HOLISTIC APPROACH. กรุงเทพฯ : สหประชา
พาณิชย์.