Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาปฏิชีวนะและยาต้านจลุ ชีพ - Coggle Diagram
ยาปฏิชีวนะและยาต้านจลุ ชีพ
ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics)
เป็นสารสกัดจากจุลินทรีย์บางชนิด
ทำให้เชื้อโรคนั้นตายได้(Bactericidal)
สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค(Bacteriostatic)
กลไกการออกฤทธิของยาปฏิชีวนะต่อแบคทีเรีย
ขัดขวางการสร้างผนังเซลล์ เช่น Cephalosporins ยากลุ่มนี้ะออกฤทธิ์ดีมาก ในระยะเวลาจุลชีพเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ถ้าเป็นระยะพักการออกฤทธิ์ของยาจะไม่ดี้เท่าทที่ควร
ขัดขวางการทาํงานของเยื่อหุ้มเซลล์ เช่น Polypeptideantibiotic,antifungalantibiotic
ยากลุ่มนี้จะออกฤทธิ์ทันทีที่ส้มผัสกับจุละชีพและจับติดแน่นกับเยื่อหุ้มไซโตพลาสอยู่นาน
ขัดขวางการสร้างโปรตนีในเซลล์ เช่น Macrolideantibiotic,Aminoglycoside,
Tetracycline, Chloramphenical
ขัดขวางการสร้างกรดนิวคลีอิค เช่นGriseofulvin,Rifampicin๙
ทําให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทเรียผิดปกติเช่นAminoglycosides
Penicillins
คุณสมบัติทั่วไป
แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
ท่ีมีขอบเขตการต้านเชื้อขยายออกไป
ยาท่ีสามารถต้านเชื้อ Staphylococcus
ท่ีสามารถต้านเชื้อ Pseudomonas
Natural penicillins หรือ penicillins แบบดั้งเดิม
ได้มาจากเชื้อรา Penicillium chrysogenum (หรือ P. notatum)
กลไกลการออกฤทธิ์
ได้มาจากเชื้อรา Penicillium chrysogenum
(หรือ P. notatum)
กลไกการดื้อต่อ มี 3 กลไกหลัก
1.การสร้าง β-lactamase เพื่อทำลายยาการเปลี่ยนแปลง PBP ทำให้ยาจับได้น้อยลงและ การเปลี่ยนแปลงให้ยาผ่านเข้าได้น้อยลง
2.ยาไม่มีผลลต่อแบคทีเรียท่ีไม่มีผนังกั้นเซลล์หรือแบคทีเรียท่ีอยู่ในระยะท่ีไม่ได้เจริญเติบโต
3.โดยปกติยา penicilins จะไม่เข้าสมอง ยกเว้นการอักเสบ เช่น meningitis ทำให้ยาสามารถผ่านเข้าสมองได้
ประโยชน์ในการใช้
Natural penicillins มีผลต่อแบคทเรียแกรมบวกส่วนใหญ่ เชื้อที่ไวต่อยา
Meninggococci ใช้ยา penicillin เป็นยาตัวเลือกอันดับ 1 แต่ยาไม่มีผลต่อ Neisseriagonorrhoeae
Clostridium เช่น โรค gas gangrene และ clostridium tetani
Pneumococci (streptococcuspneumoniae) ใช้ penicillin
เป็นยาตัวเลือกอันดับ 1 ปัจจุบันพบเชื้อดื้อต่อยา penicillin 70%
เชื้ออื่นๆ เช่น Listeria,enterococci,diphtheria,antrax
streptococci (streptococcus group A, B, C, G) ใช้ penicillin เป็นยาตัวเลือกอันดับ 1
spirochetes เช่น syphilis, leptospirosis
เภสัชจลนศาสตร์
ยาจับกับโปรตีนในอาหารทำให้การดูดซึมน้อยลง
การดดู ซึมยาจะน้อยลงเมื่อรับประทานพร้อมอาหาร (ยกเว้น amoxicillin)
การดดูซึมจากทางเดินอาหารไม่แน่นอนข้ึนกับปริมาณกรดในกระเพาะอาหารและความสามารถของยาในการทนกรด
ควรกินยาตอนท้องว่าง (1 ชั่วโมงก่อนอาหาร หรือ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร)
ยกเว้น nafcilin และ ampicillin ถกูทำลายท่ีตับและขับออกทางน้ำดี การให้ยา probenecid ร่วมกับ penicillins ทำให้ยับยั้งการขับ penicillins ออกทางท่อไต ทำให้ยาอยู่ในกระแสเลือดนานข้ึน
ผลข้างเคียง
อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย (diarrhea), คลื่นไส้ (nausea)
เลือดจางเนื่องจากเมด็ เลือดแดงแตก(hemolyticanemia)
ชัก (seizure) เกิดได้ในผู้ป่วยท่ีมีไตบกพร่องและทารกแรกเกิดท่ีการ
ทำงานของไตไม่สมบูรณ์
ไตอักเสบ (nephritis)
พิษจาก cations ถ้าให้ยาในขนาดสูงมากอาจทาํให้ภาวะคั่งของsodium หรือ potassium ได้
ยา penicillins ท่ีสามารถต้านเชื้อ staphylococcus
ยากล่มุน้ีทนต่อเอนไซม์ β-lactamase จึงเรียกอีกอย่างว่า
β-lactamase-resistantpenicillins
Nafcillin,Dicloxacillin,Cloxacillin,Oxacillinใช้เป็นยากิน
ยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำ/ฉีดเข้ากล้ามเน้ือ
Methicillin เลิกใช้ทางคลินิกแล้ว
ประโยชน์การนำไปใช้
ใช้เฉพาะการรักษาการติดเชื้อ staphylococci ซึ่งสร้าง β-lactamase และเป็นเชื้อที่ไวต่อ methicillin
ในกรณีท่ีผลเพาะเชื้อพบว่าเชื่อ staphylococcus aureus ดื้อต่อ methicillin แสดงว่า ยากล่มุน้ีทั้งหมดใช้ไม่ได้ผลทางเลือกคือใช้ vancomycin
มีขอบเขตการต้านแบคทีเรียแคบ
ผลข้างเคียง
Methicillin ทำให้เกิดไตอักเสบจึงเลิกใช้ยาน้ีในคนแล้ว
Methicillin กับ Nafcillin อาจทาํให้เมด็เลือดขาวชนิด granulocytes ต่ำ โดยเฉพาะในเด็ก
เหมอืนกับ naturalpenicillins
Oxacillin อาจทำให้ตับอักเสบ
Penicillins ท่ีมีขอบเขตการต้านเชื้อท่ีขยายออกไป
หรือเรียกว่า aminopenicillin
Amoxicillins ใช้เป็นยากิน
Ampicillin ใช้เป็นยากินยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ประโยชน์การนำไปใช้
โรคแผลในกระเพาะอาหาร (peptic ulcer) ใช้ amoxicillin ร่วมกับ clarithromycin และ proton pump inhibitor เพื่อกำจัดเชื้อ Helicobacter pylori
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ UTI ท่ีเกิดจากเชื้อ proteus, E coli หรือ enterococci
ใช้เป็นตัวเลือกแรก (first-line drug) ในการรักษาหูชั้นในอักเสบเฉียบพลัน ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน และหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
การติดเชื้อ Salmonella โดยเป็นตัวเลือกรองจาก cephalosporin ร่นุท่ี 3
ผลข้าง
การใช้ ampicillinในผู้ป่วยโรค mononucleosis อาจทำให้เกิดผื่น
Ampicillin อาจทำให้เกิดผื่น pseudomembranous colitis
Penicillins ท่ีสามารถต้านเชื้อ Pseudomonas
piperacillin และ ticarcillin
เป็นยาฉีดเข้ากล้ามและหลอดเลือดดำ
ยากล่มุน้ีถกูทำลายโดย β-lactamase
จึงมักใช้เป็นยาผสมร่วมกับยาต้านβ-lactamase
ticarcillin+clavulanic acid (Timentin®)
piperacillin+tazobactam
ยากล่มุน้ีถูกทำลายโดยกรดใน
กระเพาะอาหารอย่างรวดเร็ว
เป็นยาฉีดกล้ามเน้ือและหลอดเลือดดำ
ไม่ใช้เป็นยากิน
ยามีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่ง
Enterobacter และ Pseudomonas
ปอดอักเสบ (pneumia) จากการติดเชื้อ Proteus, E. coli, Enterobacter หรือ Klebsiella pneumoniae
ทางเดินปัสสาวะอักเสบจากการติดเชื้อกล่มุเดียวกับโรคปอดอักเสบข้างบน
ผลข้างเคียง
ยับยั้งการทำงานของเกร็ดเลือด
(Plateletdysfunction)
การเเพ้ยา
ยาท่ีใช้รักษาการติดเชื้อ
Pseudomonas arieruginosa
ตัวเลือกท่ี 1
(1st-line choice)
ร่วมกับ tobramycin
ciprofloxacin
ticarcillin
piperacillin
ตัวเลือกท่ี 2
(2nd-line choice)
ร่วมกับ tobramycin
cefepime
ceftazidime
ตัวเลือกท่ี 3
(3rd-line choice)
ร่วมกับ tobramycin
imipenem
aztreonam
การเลือกใช้ยาต้องพิจารณายาตัวเลือกท่ี 1 ก่อนเสมอ
การพยาบาล
1.ก่อนเร่ิม dose แรก ควรถามประวัติการแพ้ยาก่อน ถ้ามีประวัติการแพ้ควรเขียนไว้ใน OPD card ผู้ป่วยทีมีประวัติแพ้ง่ายแม้จะเป็นสารอื่นก็ต้องระวังเป็นพิเศษ
2.ตรวจสอบวิธีการใช้ยาวิถีทางให้ชัดเจนเพราะยาบางอย่างฉีดเข้าหลอดเลือดดำไม่ได้ฉะน้ันแม้จะฉีดเข้ากล้ามเน้ือ ก็ต้องระมัดระวังอย่าให้ปลายเข็มแทงเข้าไปในหลอดเลือดเป็นอันขาด
3.การฉีดเข้ากล้ามเน้ือ ควรเลือกกล้ามเน้ือท่ีใหญ่และหนา ต้องฉีดให้ลึก เพราะยาจะระคายเคืองทำให้เจ็บปวดมาก
4.การฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ควรเลือกเส้นท่ีใหญ่พอสมควร เลือกเข็มท่ีเล็กและคมการเจือจางยา พอสมควรจะช่วยลดการอักเสบของหลอดเลือดดำได้มาก
5.เตรียมเครื่องใช้สาํหรับการช่วยเหลือฉุกเฉินให้พร้อมเสมอในกรณีท่ีเกิดการแพ้ แบบ Anaphylactic reaction
7.Penicillin G เมื่อผสมกับนํ้ากลั่นแล้วจะคงทนได้นาน 1 วันในอุณหภูมิห้องแต่จะอยู่ได้นาน 1 สัปดาห์ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็น
6.ไม่ควรผสมกับยาอืนพร้อมกัน เพราะอาจเกิดปฏิกิริยาที่ไม่ต้องการได้
8.Penicillin ท่ีผสมกับ 5%Dextrose ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นจะอยู่ได้นาน 24 ชั่วโมงถ้าอยู่ในอุณหภูมิห้องฤทธ์ิยาจะเสื่อมลงอย่างรวดเร็วถ้า pH อยู่ระหว่าง 5.5-6.5
Cephalosporins
คุณสมบัติท่ัวไป
มีฤทธ์ิฆ่าแบคทีเรีย (bacteriacidal activity)
cephalosporin
ทุกตัวไม่มีผลต่อเชื้อต่อไปน้ี
Listeria monocytogenes
Legionella
Enterococcus faecalis
clostridium difficile
MRSA
สกัดจากเชื้อรา cephalosporium acremonium
Cephalosporins ท่ีถูกขับออกทางนํ้าดี คือ cefoperazone และ ceftriaxone ยา 2 ตัวน้ีนิยมใช้ในผู้ป่วยโรคไต โดยไม่ต้องปรับลดขนาดยา
เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่ม β-lactams โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวน lactam
กลไกการออกฤทธ์ิ
แล้วยับยั้ง transpeptidase ใน PBP
กระต้นุเอนไซม์ autolysin ทำให้แบคทีเรียย่อยสลายตัวเองมากข้ึน
จับกับ peniciilin binding protein (PBP)
ผลข้างเคียง
Disulfiram-like
reactions
ถ้าได้รับแอลกอฮอล์ร่วมอาจเกิด อาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
พบบ่อยใน cefotetan, cefamandole และ cefoperazone ขณะที่ได้รับยานี้ไม่ควรดื่มแอลกอฮอล์
พิษต่อไต
ต้องลดขนาดยา (dose) ในผู้ป่วยโรคไต ยกเว้น cefoperazone
และ ceftriaxone
Coombs’test ให้ผลบวก
แต่มกัไม่พบว่าเกดิภาวะซดีจากเมด็เลอืดแดงแตก(hemolyticanemia)
การแพ้ยา
พบประมาณ10-15% ของผู้ป่วยที่แพ้ penicillins
ซึ่งมักจะแพ้ cephalosporins
Hypothrombinemia
ยาทำให้การสร้าง thrombin (clotting factor II) น้อยลงจากการยับยั้ง vitamin K decarboxylaseในตับและมผีลต่อ normalflora ในลำไส้ที่สังเคราะห์ Vitamin K ทำให้เลือดหยุดไหลช้าหรือเลือดออกง่าย
แบ่งเป็น 4 รุ่น
รุ่นท่ี 1 ยากินได้แก่ cephalexin (keflex®)
cephadroxil มีฤทธ์ิ ครอบคลุมแบคทีเรีย
แบคทีเรียแกรมบวกทรงกลม
ยาไม่ครอบคลุมเชื้อenterococci และ MRSA
นิยมให้ก่อนผ่าตัดเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ผิวหนัง
เป็นยาต้นแบบของ cephalosporin รุ่นท่ี 1 ท่ีเป็นยาชนิดกิน
ไม่เข้าสมอง
รุ่นท่ี 2
ยากิน cefaclor, cefuroxime axetil, loracarbef และ cefprocil
ยาฉีด cefotetan, cefoxitin และ cefuroxime
การครอบคลมุแบคทีเรียคล้าย cephalosporin ร่นุท่ี 1 และขยายขอบเขตสู่แบคทีเรียแกรมลบมากข้ึน
Cefoxitin และ cefotetan ยังใช้รักษาการติดเชื้อผสม anaerobes
Cefaclor ใช้รักษาการติดเชื้อ Hemophilus influenzae, Moraxella catarrhalis
Cefuroxime เป็นยาต้นแบบ (prototype) ของ cephalosporins รุ่นท่ี 2 มีทั้งชนิดกินและฉีด ยาน้ีทนต่อ β-lactamase ส่วนใหญ่ไม่เข้าสมอง
รุ่นท่ี 3
ยาฉีด cefoperazone, cefotaxime, ceftazidime, ceftizoxime และ ceftriaxone
ครอบคลุมแบคทีเรียแกรมลบหลายชนิดท้ังทรงกลมและแท่งแต่ครอลคลุมแบคทีเรียแกรมบวกน้อย
ยากิน cefixime, cefpodoxime, cefdinir, ceftibuten
Ceftriaxone มีค่าครึ่งชีวิตยาวท่ีสุดในกลุ่ม
กินคร้ังเดียวเพื่อรักษาโรคหนองในซึ่งเกิดจากเชื้อ Neisseria gonorrhoeae ในทางเดินปัสสาวะ
Cefoperazone ถูกทำลายได้ง่ายโดย β-lactamase จึงมักใช้ร่วมกับ
β-lactamase inhibitor
รุ่นที่ 4
ยามีฤทธ์ิขยายขอบเขตต่อแบคทีเรียแกรมบวกและ
แกรมลบมากข้ึนเมื่อเทียบกับร่นุ ท่ี 3
ทนต่อ β-lactamase มากท่ีสดุ ในกลุ่ม cephalosporin
cefepime , cefpirome ใช้เป็นยาฉีดเท่าน้ัน
ยาไม่ครอบคลุมเชื้อ MRSA,Enterococcus faecalis,
Bacteroides fragilis และ Listeria monocytogenes
Carbapenems
โครงสร้างคล้าย penicillins
มีฤทธ์ิฆ่าแบคทีเรีย
ยาในกล่มุน้ีได้แก่ imipenem เป็นยาต้นแบบmeropenem และ ertapenem ยาทั้ง 3 ชนิดเป็นยาฉีดเท่าน้ัน
เป็นยาต้านแบคทีเรียกล่มุ β-lactamsท่ีได้มาจากการสังเคราะห์
Imipenem
มีผลรักษาการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย dehydropeptidase ในไต
มีผลฆ่าแบคทีเรียกว้างมากฆ่าได้ท้ัง
แบคทีเรียแกรมบวก แกรมลบ และ anaerobes
ยาถกูขับออกทางปัสสาวะต้องปรับลดขนาดยาในผู้ป่วยไตวาย
แต่ยกเว้น (MRSA) , (VRE)
ประโยชน์การนำไปใช้
Imipenem หรือ meropenem ร่วมกับ tobramycin รักษาการติดเชื้อ Pseudomonas โดยเป็น ตัวเลือกอันดับ 3
รักษาการติดเช้ือทางเดินปั สสาวะท่ีเกิดจาก Enterobacter (แกรมลบทรงแท่ง) ใช้เป็ นตัวเลือกอันดับ 1
รักษาการติดเชื้อ pneumococci ท่ีดื้อต่อ penicillins โดยใช้เป็นตัวเลือกรองจาก ceftriaxone
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง
เมด็เลือดขาวชนิดeosinophilsมาก
ชัก (seizures) โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคไต
เม็ดเลือดขาวชนิด neutrophils ต่ำ
ผู้ป่วยแพ้ penicillins ก็อาจแพ้ยาน้ีด้วย
การพยาบาล
ฉีดเข้ากล้ามเน้ือจะปวดมาก
จำเป็นต้องฉีดควรฉีด
ให้ลึกท่ีกล้ามเน้ือใหญ่
กล้ามเน้ือสะโพก
เปลี่ยนท่ีฉีดเสมอ
ฉีดเข้าหลอดเลือดดหมัก พบว่ามีการอักเสบบริเวณรอยฉีดยา
อาจหลีกเลี่ยงโดยการเจือจางยาให้มากและฉีดหรือหยดช้าๆ
ซักประวัติการแพ้ยา
เมื่อผสมแล้วยาจะคงทนอยู่ได้ประมาณ 6 ชั่วโมงในอุณหาภูมิห้อง
การหยดทาง หลอดเลือดดำควรให้หมดในเวลาไม่เกิน 24 ชั่วโมง
Monobactam
กลไกการออกฤทธ์ิ
ให้ยาน้ีไม่มีผลต่อเชื้อแกรมบวก Aztreonamใช้เป็นยาฉีด (IV,IM)
ยาถูกขับทางปัสสาวะยามีผลฆ่าแบคทีเรีย
ยาน้ีไม่มี cross-allergenicity กับ penicillins ดังน้ันผู้ท่ีแพ้ penicillins สามารถใช้ยาน้ีได้
เหมือน penicillins และยาน้ีเป็นยากลุ่ม β-lactams
Aztreonam
ไม่มี cross-allergenicity กับ penicillins ดังน้ันผู้ที่แพ้ penicillins สามารถใช้ยาน้ีได้
ทนต่อ β-lactamase
ยามีผลฆ่าแบคทีเรีย
ยาถูกขับทางปัสสาว
ใช้เป็นยาฉีด (IV, IM)
ผลข้างเคียง
เอนไซม์จากตับสงูในเลือด
รบกวนทางเดินอาหาร (คลื่นไส้ อาเจียน)
ผื่น (skinrash)
Glycopeptides
กลไกการออกฤทธิ์
ยามีฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียแกรมบวกทุกชนิด
สงวนไว้สำหรับการติดเชื้อรุนแรงที่เกิดจาก Staphylococcusaureus ที่ดื้อต่อ methicillin และ แบคทีเรียแกรมบวกอื่นๆที่ดื้อยาอื่น รวมทั้งสงวนสำหรับผู้ป่วยที่เเพ้ penicillin
ยับยั้งกระบวนการ polymerization
ของสาย peptidoglycan
ผลข้างเคียง
ช็อก จากการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำเร็วเกินไป
พิษต่อหู (ototoxicity)
ไข้หนาวส่ัน (Fever and chills)
พิษต่อไต (nephrotoxicity) ซึ่งพบน้อย
ยาอื่นๆทียับยั้งการสร้างผนังเซลล์
Bacitracin
รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์โดยไปยับยั้งการเสียหมู่ฟอสเฟต
ยาไม่ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารในบางครั้งเพื่อกำจัด
เชื้อ Clostidium difficile ในทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียง
ผื่น คลื่นไส้อาเจียน
Cycloserine
เป็น analog ของ D-Ala
กลไกการออกฤทธ์ิ
ยับยั้งการสังเคราะห์ peptidoglycan
ใช้รักษาวัณโรคซึ่งเกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis ที่ดื้อต่อยาต้านวัณโรคตัวเลือกแรก
ผลข้างเคียง
สับสน (confusion)
ปวดศีรษะ
ชัก (seizures)
มีอาการโรคจิต (psychosis)
พิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง
Fosfomyci
ผลข้างเคียง
พบน้อย ได้แก่ ปวดศีรษะ อาเจียน อุจจาระร่วง
กลไกการออกฤทธิ์
มีผลต่อแบคทีเรียแกรมลบ
ยาถูกขับออกทางเดินปัสสาว
เป็นยากิน
ยับยั้ง enol pyruvate trnasferase ในแบคทีเรียแต่ไม่มีผลต่อเอนไซม์น้ีในคน
ยามีผลน้อยมากต่อแบคทีเรียแกรมบวก
ยายับยั้ง β-lactamase
กลไกการออกฤทธ์ิ
ปัจจุบันใช้ยาเหล่าน้ีผสมกับยายับยั้ง
การสร้างผนังเซลล์อื่นๆ
ampicillin+sulbactam (Unansyn®) เป็นยาฉีด
piperacillin+tazobactam (Zosyn®) เป็นยาฉีด
amoxicillin+clavulanate (Augmentin®) เป็นยากิน
แต่ไม่มีผลต่อ β-lactamase ชนิด B, C และ D
ยับยั้ง β-lactamase ชนิด (class ) A
ยายับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนในแบคทีเรีย
ยาเหล่าน้ีจึงมีพษิเฉพาะต่อแบคทีเรียเท่านั้น
เรียกว่า selectivitytoxicity
หมายเหตุ : s ย่อมาจาก Svedburg unit of sedimentation coefficient
การสังเคราะห์โปรตีนในแบคทีเรียออกฤทธ์ิโดยจับกับไรโบโซม 70s ของแบคทีเรียท่ีตำแหน่งต่างๆ
Aminoglycosides
amikasin, netilmycin, neomycin,
tobramycin, gentamycin, streptomycin
กลไกการออกฤทธิ์
มีฤทธ์ิฆ่าแบคทีเรีย
ทำให้เกิดความผิดพลาดในการอ่าน mRNA
ทำให้ยาผ่านเยื่อ cytoplasmicเข้าสู่ cytoplasm
แล้วยาจับกับไรโบโซมหน่วยย่อย30sอย่างถาวร
ยามผีลต่อแบคทีเรียแกรมลบโดยยาผ่านเยื่อชั้นนอก
เภสัชจลนศาสตร์
ร่างกายแต่ไม่เข้าสมองและไม่สะสมในไขมันยาสะสมอย่างมากในไตและ endolymph ในหูชั้นในทำให้ยามีพิษต่อไตและหู
ต้องปรับลดขนาดยาในผู้ป่วยท่ีมีความบกพร่องของไต
มีขั้วมากเพราะมีประจุบวกมากในโมเลกุลเป็นเบสและละลายในนํ้าทำให้ไม่ถูกดูดซึมจาก ทางเดินอาหาร จึงนิยมให้ทางหลอดเลือดดำ
ประโยชน์ทางการใช้
เชื้อแกรมลบท่ีดื้อต่อ gentamicin อาจตอบสนองต่อ amikacin
ยา aminoglycoside ไม่มีผลต่อ Burkholderia pseudomallei และไม่ครอบคลุมเชื้อ anaerobes เพราะการขนส่งยาเข้าเซลล์แบคทีเรียต้องอาศัยออกซิเจน
ใช้รักษาการาติดเชื้อแกรมลบท่ีมาจากทางเดินอาหาร
ฤทธ์ิต้านแบคทีเรียข้ึนกับความเข้มข้นของยาในเลือดไม่ขึ้นกับเวลา
และยามี postantibiotic effect
ผลข้างเคียง
พิษต่อหู (ototoxicity) พบบ่อยใน amikacin เกิดถาวรเนื่องจากยามีพิษต่อ vestibular nerve และ auditory nerve ทำให้เวียนหัวและหูหนวก
ตามลำดับ
ใช้ยาในหญิงมีครรภ์อาจทำให้เกิดพิษต่อ cranial nerve VIII ดังนั้นควรใช้ยาอย่างระมัดระวัง
ปิดกั้น neuromuscular junction ทำให้กล้ามเน้ืออ่อนแรงคล้ายอัมพาต
ยา aminoglycosides มีผลข้างเคียงท่ีร้ายแรงโดยเฉพาะต่อหูและไต
ดังน้ันควรติดตาม ระดับยาในกระแสเลือด
พิษต่อไต (nephrotoxicity) พบบ่อยใน gentamicin และ tobramycinโดยปกติไม่ถาวรแต่ถ้าให้ยาต่อไปนานๆ อาจทำให้เกิด acute tubular necrosis จนไตเสื่อมถาวร ซึ่งพบบ่อยในผูส้งูอายุ