Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 2550 และธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ, ี,…
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 2550
และธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
เป็นกรอบและแนวทางกำหนดนโยบายทางยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ
การพัฒนากฏหมายที่ส่งผลกระทบ
ต่อระบบบริการสุขภาพของประเทศ
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2559
ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารทารกและเด็กเล็ก
ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการบริหารประเทศ
ทําหน้าที่เป็นวิศวกรของสังคม
แสดงถึงพัฒนาการของสังคมที่มีร่วมกัน
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
แบ่งได้ 7 ประการ
สิทธิในข้อมูลด้านสุขภาพ
สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเมื่อเข้ารับบริการทางสาธารณสุข
สิทธิที่ผู้หญิง เด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสจะได้รับกาารคุ้มครอง
สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเมื่อเข้าร่วมงานวิจัย
สิทธิในการดำรงชีวิต
สิทธิร้องขอให้มีการประเมินและส่วนร่วมในการประเมินผลด้านสุขภาพ
สิทธิในการทำหนังสือแสดงเจตนาที่ไม่พึงประสงค์จะรับบริการทางสาธารณสุขในวาระสุดท้ายของชีวิต
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12ในยุทธศาสตร์ต่างๆไม่ใช่เพียงสุขภาพกาย แต่ยังรวมถึงจิตใจ สังคม ปัญญา
การกำหนดนโยบายเขตสุขภาพเพื่อประชาชน
สมัชชาสุภาพ
กระบวนการที่ประชาชนและหน่วยงานของรัฐ
ได้ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้กัน
มี 3 ระดับ
สมัชชาสุภาพเฉพาะพื้นที่
สมัชชาสุภาพแห่งชาติ
สมัชชาสุภาพเฉพาะประเด็น
เป็นกระบวนการที่สร้างสรรค์ให้
เกิดการเรียนรู้ทางเศรษฐกิจ สังคม องค์ความรู้ และวิชาชีพ
สนับสนุนการบริการปฐมภูมิและการจัดให้มีหมอประจำครอบครัว
ก่อให้เกิดการขยายตัวของรัฐธรรมนูญสุขภาพเฉพาะพื้นที่โดยชุมชนท้องถิ่นต่างๆ
วางกลไกที่จะสร้างความผูกพันของภาครัฐไปสู่การสนับสนุนโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย
การออกกฎหมายเพื่อประเมินผลกระทบสุขภาพ
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
ต้องดำเนินการจัดให้มีกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ
การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพหากไม่ดำเนินการภายในระยะเวลาที่รัฐธรรมนูญกำหนดผู้บริหารหน่วยงานรัฐนั้นจะต้องพ้นจากตำแหน่ง
นำมาใช้ในโครงการขนาดใหญ่จำนวนมาก
การสร้างบ่อกำจัดขยะ
การสร้างและต่ออายุใบอนุญาตสร้างเหมืองทองคำ
การสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลหลายจังหวัด
เครื่องมือในการสร้าสรรค์นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมประกอบด้วย4ช่องทาง
ประชาชน
นักวิชาการ
เครือข่ายต่างๆ
นโยบายการมีส่วนร่วมต่างๆ
การผลักดันกฎหมายและร่างกฎหมายเพื่อสุขภาพหลายฉบับ
ี
นางสาวปิ่นแก้ว พันทะมา 62011413048