Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Transient tachypnea of the newborn: TTNB - Coggle Diagram
Transient tachypnea of the newborn: TTNB
สาเหตุ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
สาเหตุ
การกำจัดน้ำออกจากปอดไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้การหายใจครั้งแรกของทารกลดลง จึงเป้นเหตุทำให้ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดลดต่ำลง
การที่มีน้ำค้างอยู่ในปอดทารก ทำให้ทารกหายใจไม่มีประสิทธิภาพ จึงเกิดภาวะหายใจเร็วชั่วคราว
ทารกไม่สามารถขับน้ำที่อยู่ในปอดออกมาได้หมด ทำให้การหายใจในแรกเกิดไม่เพียงพอต่อร่างกาย
ปัจจัยเสี่ยง
เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
ทารกตัวโต
มารดาเป็นโรคหอบหืด
การคลอดก่อนกำหนด
การผ่าตัดคลอด
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
พยาธิสภาพ
การที่ทารกอยู่ในครรภ์ ปอดของทารกจะเต็มไปด้วยน้ำ ซึ่งเมื่อเข้าสู่ระยะคลอดทารกเคลื่อนเข้าสู่ช่องทางคลอดของมารดา
ทรวงอกของทารกจะถูกบีบ (vaginal squeeze) ทำให้มีการระบายน้ำออกจากปอด เพื่อเป็นการเริ่มหายใจครั้งแรก แต่ถ้าการระบายน้ำออกจากปอดมีความผิดปกติ จะทำให้ทารกมีภาวะน้ำคั่งในปอดมากขึ้น ทำให้ประะสิทธิภาพการหายใจครั้งแรกลดลง ความพยายามในการหายใจจะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากร่างกายมี CO2 มากขึ้น ร่างกายจึงต้องปรับสมดุล โดยร่างกายจะมีการเพิ่ม Metabolic Alkalosis ทำให้ทารกมีอาการหายใจเร็วขึ้น เมื่อร่างกายอยู่ในสภาวะสมดุล ภาวะหายใจเร็วชั่วคราวจะหายไป
อาการและอาการแสดง
หายใจออกเสียงดัง (expiratory grunting)
ปีกจมูกบาน (nasal flaring)
อัตราการหายใจมากกว่า 60 ครั้ง/min
อกบุ๋ม (retraction)
หายใจเร็ว (tachycadia)
การรักษา
ถ้าอาการอยู่นานเกิน 48 hr ควรได้รับการตรวจการติดเชื้อของปอด และให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการอักเสบ
สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะความดันในปอดสูง
ให้ออกซิเจนความเข้มจ้น 40% ขึ้นไป โดยใช้ cannular หรือ box
ตรวจเอ็กซเรย์ในระยะ 48 ชั่วโมงแรก (chest x-ray)
ส่งตรวจ complete blood count เพื่อ หาสาเหตุของการเกิดภาวะหายใจเร็วของทารก
การพยาบาล พร้อมเหตุผล
ประเมินปัจจัยเสี่ยงของมารดาและทารกในครรภ์ต่อการเกิดภาวะหายใจเร็วของทารกแรกเกิดตั้งแต่ระยะก่อนคลอด เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการดูแลทารกในการเฝ้าระวังภาวะหายใจเร็วชั่วคราวในระยะแรกเกิด
สังเกตลักษณะผิดปกติของการหายใจและประเมินอัตราการหายใจ เพื่อ ใช้เป็นข้อมูลประกอบการวินิจฉัยภาวะหายใจเร็วในทารกแรกเกิด