Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ (Drugs acting on endocrine…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
(Drugs acting on endocrine system)
เบาหวาน
(Diabetes mellitus, DM)
โรคที่มีความผิดปกติทางเมตะบอลิซึมร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ โดยเกิดจากความผิดปกติของการใช้น้ำตาล ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ตามปกติ ทำให้มีระดับน้ำตาลสูงขึ้น
เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในขบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน โดยขบวนการนี้เกี่ยวข้องกับอินซูลินซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อน เป็นผลมาจากความบกพร่องของการหลั่งอินซูลิน หรือ เซลล์ของร่างกายไม่สามารถนำอินซูลินไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ(insulin resistance) หรือทั้งสองอย่างร่วมกัน
แบ่งเบาหวาน
ได้เป็น 4 ประเภท
ประเภทที่ 4 (gestational diabetes)
:โรคเบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์
ประเภทท 3:
โรคเบาหวานจากสาเหตุอื่นๆ เช่น พันธุกรรม ,โรคตับอ่อน, ยาบางชนิด เช่น ยากลุ่มเสตียรอยด์
ประเภทที 2 (type II DM):
มีอินซูลินหลั่งออกมาจากตับอ่อนน้อยหรือเกิดการดื้อต่ออินซูลิน
ประเภทที 1 (type I DM):
ไม่มี อินซูลิน หลั่งออกมาจากตับอ่อน ต้องการอินซูลินจากภายนอกร่างกาย
การรักษา Goal: ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
2. การรักษาโดยการใช้ยา
2.1 ยาฉีดอินซูลิน (insulin)
2.2 ยาลดระดับนน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic drugs)
อินซูลิน (insulin)
ลดระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานทุกประเภท• type I DM, gestational DM ใช้เฉพาะอินซูลินเท่านั้น• type II DM ใช้ในกรณีต่างๆ
■ใช้ยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดอื่นไม่ได้ผล
■ โรคตับ หรือโรคไตระดับรุนแรง
■ รักษาภาวะโปตัสเซียมในเลือดสูง (hyperkalemia)
■ ผ่าตัด ติดเชื้อdiabetes ketoacidosis
กลไกการออกฤทธิ์ของ insulin
• นำกลูโคสจากเลือดเข้าสู่เซลล์
• เปลี่ยนกลูโคสเป็นกลัยโคเจน (glycogen)
• นำโปตัสเซียมเขา สู่เซลล์ (พรอ้มกับการนำเข้ากลูโคส)
ผลข้างเคียงอาการไม่พึงประสงค์
• ระดับน้าตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)→ หัวใจเตน้ เร็ว เหงื่อออกมาก หิว ปวดหัว สั่น อ่อนเพลียซึม หมดสติ
-เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ติดตามประเมินอาการ ค้นหาความเสี่ยง ป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ
• ตุ่มนูนแข็งจากไขมันใตชั้นผิวหนังตรงตำแหน่งที่ฉีด(lipohypertrophy)จากการฉีดอินซูลินที่ตำแหน่งเดิม
-ให้ความรู้เรื่องการฉีดอินซูลิน
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
การใช้ร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด
→ เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ทำให้อินซูลินไม่สามารถลดน้ำตาลในเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
→ glucocorticoids, thiazide diuretics
beta-blockers อาจบดบังอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น หัวใจเตน้ เร็ว สั่น
การใช้ร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด
→ เพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
→ sulfonylureas, meglitinides, beta-blockers, alcohol
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
(hypoglycemic drugs)
ใช้ในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2
กลุ่ม Alpha - glucosidase inhibitors
ชื่อสามัญทางยา Acarbose, Voglibose, Miglitol
•ควรรับประทานยาพร้อมอาหาร
• ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร การทำงานของตับ/ ไต บกพร่อง
กลไกการออกฤทธิ์
• ยับยั้งเอนไซม์alphaglucosidaseและเอนไซม์amylase เอนไซม์ที่มีหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรตเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
• ลดการย่อยและการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตเข้าสู่ร่างกาย
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องอืด ผายลมบ่อย
• ลดการดูดซึมธาตุเหล็ก ทำให้โลหิตจาง
• พิษต่อตับ เมื่อใชร้ ะยะยาว ผู้ป่วยต้องตรวจการทำงานของตับเป็นระยะ
กลุ่ม Incretin-based drugs (oral/ injection)
กระตุ้นตัวรับ GLP-1
• ชื่อสามัญทางยา:
Exenatide, Liraglutide, Albiglutide,Dulaglutide
•
กลไกการออกฤทธ์
กระตุ้นตัวรับ GLP-1 ส่งผลให้มีการกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ยับยั้งการหลั่งกลูคากอน
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน น้ำหนักลด ท้องเสีย ตับอ่อนอักเสบ
• ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคไตวาย, ulcerative colitis, crohn’s disease
2. ยับยั8งเอนไซม์ DPP-4
(DPP-4 inhibitors)
•
ชื่อสามัญทางยา
: Sitagliptin, Vildagliptin, Saxagliptin
• ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4 ซึ่งเป็นเอนไซม์ทำลาย GLP-1 และ GIP ทำให้ลดการทำลายฮอร์โมน GLP-1 และ GIPผลข้างเคียง/
อาการไม่พึงประสงค์
• การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน เยื่อจมูกอักเสบ
กลุ่ม Thiazolidinediones
Pioglitazone
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• บวมน้ำ(fluid retention)→ เฝ้าระวังผู้ป่วยอาการบวม น้ำหนักที่เพิ่มจากการคั่งของน้ำและอาการที่บ่งชี้ต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
• เพิ่ม LDL cholesterol• พิษต่อตับ อาการที่บ่งบอก เช่น ตัวเหลือง ปัสสาวะสีดำ→ ต้องตรวจการทำงานของตับก่อนได้รับยาและทุก 2 เดือนในปีแรกของการกินยา
• เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน (ลดการดื้อต่ออินซูลิน)
• เพิ่มการนำกลูโคสเข้าเซลล์ และลดการสังเคราะห์กลูโคส
กลุ่ม SGLT-2 inhibitors
• SGLT-2 = sodium glucose cotransporter-2
• ชื่อสามัญทางยา: Canagliflozin, Empagliflozin,Dapagliflozin
• ยับยั้งการดูดกลับของกลูโคสที่หน่วยไต ทำให้มีกลูโคสออกมากับปัสสาวะเพิ่มขึ้นลดปริมาณกลูโคสในเลือด
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ น้ำหนักลด ของเหลว
ในกระแสเลือดลดลง (hypovolemia)
• ไม่เกิดภาวะทำให้น้ำตาลในเลือดตำ
กลุ่ม Biguanides
Metformin
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
• แอลกอฮอล์→ เมื่อกินพรอ้มกับยาจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกรดแลคติกคั่ง
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• เบื่อ อาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ทอ้งผูก ท้องเสีย แสบยอดอก
• น้ำหนักลด
• ลดการดูดซึมวิตามิน B12 และ folic acid→ ขาดวิตามิน B12 และ folic acid → ประเมินภาวะโลหิตจาง→เสริมวิตามิน B12 และ folic acid
• การคั่งของกรดแลคติก (lactic acidosis): หายใจหอบ เบื่ออาหาร เซื่องงซึม ความดันโลหิตต
• เพิ่ม ความไวของเนื้อเยื่อ ต่ออินซูลิน และลดการสร้างกลูโคสจากตับ
• เพิ่มการนำกลูโคสเข้าเซลล์กล้ามเนื้อและเพิ่มการใช้
• ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะไตทำงานบกพร่อง หัวใจวายระบบไหลเวียนลม้ เหลว เพราะอาจทำให้เกิดภาวะกรดแลกติคคั่งในเลือด (lactic acidosis)
Amylin analog: Pramlintide
1. กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์
กลุ่มSulfonylureas เเละ กลุ่มMeglitinides
Sulfonylureas
ตัวอย่างยาในกลุ่ม
,Gliclazide MR ,Glibenclamide,Glipizide Gliclazide,Glimepiride ,Chlorpropamide
กระตุน้ การหลั่งอินซูลินจากเบตา้ เซลล์ที่ตับอ่อน ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เเพ้ยาปฏิชีวนะกลมุ่ sulfonamide
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• น้ำหนักตัวเพิ่ม
• ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ : ปวดศีรษะ เหงื่อแตก กระวนกระวายอ่อนเพลีย สับสน ตาพร่า ปากหรือลิ้นชา มีอาการจะเป็นลม
• คลื่นไส้อาเจียน ท้องงเสีย ปวดท้อง
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
• alcohol
→ disulfiram-like reaction: คลื่นไส้ อาเจียน หน้าแดง ใจสั่น
• alcohol, NSAIDs, ยาปฏิชีวนะกลุ่ม sulfonamide,ranitidine, cimetidine
→ เพิ่มการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
• beta-blockers เช่น propranolol
→ บดบังอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ ทำให้ยากต่อการสังเกตผู้ป่วย
1. การรักษาโดยไม่ใช้ยา
เช่น ควบคุมอาหาร ออกกำลัง
ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์
(Thyroid disorders)
1. ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง (hyperthyroidism)
เป้าหมาย
ลดระดับธัยรอยด์ฮอร์โมน
ให้อยู่ในระดับปกติ
ยา Iodides
saturated solution of potassium iodide (SSKI),Lugol’s solution
• นิยมใช้ลดขนาดต่อมและปริมาณเลือดที่มาเลี้ยงต่อม ก่อนทำการผ่าตัด
• ยับยั้งการสังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• พิษไอโอดีน (iodism) เช่น ต่อมนำ้ลายอักเสบ น้ำลายออกมามาก มีไข้ปวดแสบรอ้ นในปาก รสชาดโลหะ (เฝื่อน)ในปาก ผื่น
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
• อาหารท่มีไอโอดีนสูง เช่น อาหารทะเล→ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษไอโอไดด์ (iodism)
ยา Radioactive iodine(RAI) การกินเเร่
•
Iodine-131 (I-131)
เป็นไอโซโทป ถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วและไปเก็บสะสมความเข้มข้นสูงที่ต่อมธัยรอยด์
• กลไกการออกฤทธิ์:ปล่อยรังสีเบต้าทำลายต่อมธัยรอยด์
• ราคาถูก ให้ผลดี ไม่เจ็บ สะดวกเนื่องจากให้โดยการกินสารละลาย I-131 ซึ้ง ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส
อาการไม่พึงประสงค์
• ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำ (อาจเกิดภายใน 1 หรือ 2 ปี)
• กดไขกระดูก→ ระวังภาวะโลหิตจาง เม็ดเลือดขาวต่ำ (leukopenia),เกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia)
• ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ให้นมบุตร
• ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านธัยรอยด์ (PTU, MMI) ให้งดยา 3-7 วัน
→ ลดการนำ radioactive iodine เข้าสู่ต่อมธัยรอยด์
ยากลุ่ม thioamides
ได้เเก่
Propylthiouracil (PTU),Methimazole (MMI)
• ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• กดไขกระดูกโดยเฉพาะการลดลงของเม็ดเลือดขาว(agranulocytosis) สังเกตอาการเบื้องต้น เช่น เจ็บคอ ไข้
• hypothyroidism จากการได้รับยามากเกินไป
• ตับอักเสบ สังเกตอาการตัวเหลือง ปัสสาวะสีดำ อุจจาระมีสีอ่อน (ตรวจค่าการทำงานของตับX
• ผื่น คัน
2. ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
(hypothyroidism)
เป้าหมาย
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมน
ให้อยู่นระดับปกติ
Thyroxine (T4)
Levothyroxine (T4)
ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์
• หากได้รับยามากจนทำให้ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง
→ผู้ป่วยจะมีอาการหัวใจเตน้ เร็ว กระสับกระส่าย ทนร้อนไม่ได้ น้ำหนักลด
• ธัยรอยด์ฮอร์โมนชนิด T4 ที่ได้จากการสังเคราะห์
• มีทั้งรูปแบบยากินและ รูปแบบยาฉีด
• รูปแบบยาฉีด (IV) ใชรั้กษาภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำระดับรุนแรง (myxedema coma)
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
• ห้ามกินร่วมกับยาลดกรดในกระเพาะ (antacid) ยาลดไขมันcholestyramine, ferrous sulfate เพราะทำให้การดูดซึมlevothyroxine ลดลง → กินยาห่างกันอย่างนอ้ ย 3 ชั่วโมง
Liothyronine (T3)
Liothyronine (T3)
•ธัยรอยด์ฮอร์โมนชนิด T3 ที่ได้จากการสังเคราะห์
• มีทั้งรูปแบบยากินและ รูปแบบยาฉีด
• รูปแบบยาฉีด (IV) ใชรั้กษาภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำระดับรุนแรง (myxedema coma) • ผลข้างเคียง/ อาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวัง ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา เช่นเดียวกับ levothyroxine (T4)