Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
hypertensive disorders
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ แม่ท้องเสี่ยงความด…
hypertensive disorders
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-
-
-
แนวทางการรักษา
-
-
การรักษา eclampsia
-
การรักษา
-
หากชักขณะได้ MgSO4 ให้ blood for Mg level ทันที ส่วนในรายที่มีการเจ็บครรภ์คลอดแล้ว ให้ load ซ้ำได้อีก 2-4 g โดยไม่ต้องรอผล Mg level
-
-
-
-
-
-
-
-
การรักษา HELLP Syndrome
-
-
พิจารณา ดังนี้
-
- ให้ stabilize มารดาด้วย MgSO4
- พิจารณาให้คลอดในระยะเวลาไม่นานหลังจาก stabilize มารดา ดังนี้
- อายุครรภ์ 34 สัปดาห์ หรือ มากกว่า
- อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ หรือ น้อยกว่า (Previable)
- อายุครรภ์อยู่ระหว่าง 24 - 33 สัปดาห์ และภาวะของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่ stable
- ควร Delay การคลอด 24-48 ชั่วโมง เพื่อให้ corticosteroid ครบ course ในกรณีที่ GA อยู่ระหว่าง 24+1 ถึง 33+6 สัปดาห์ และภาวะของมารดาและทารกในครรภ์ stable
กลุ่มความผิดปกติซึ่งประกอบด้วยความดันโลหิตสูง (มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม.ปรอท วัดอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน 6 ชั่วโมง) โดยที่ภาวะที่ความดันโลหิตสูงนั้น อาจมีมาก่อนการตั้งครรภ์หรือเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ และอาจพบร่วมกับอาการบวมผิดปกติและ/หรือมีโปรตีนในปัสสาวะ
-
ในรายที่พบลักษณะดังกล่าวต่อไปนี้ข้อใดข้อหนึ่ง Dx.preeclampsia with severe features
ส่วนรายที่ไม่พบลักษณะดังกล่าว Dx. preeclampsia without severe features
-
-
-
คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2562-2564. (2564). แนวทางการปฏิบัติของราชวิทยาลยัสตูินรีแพทย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การดูแลความดันโลหิตสงูในสตรีตั้งครรภ์.
ปัญญา สนั่นพานิชกุล. (2558). ความเข้าใจและแนวคิดเกี่ยวกับภาวะครรภ์เป็นพิษในปัจจุบัน.วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า,32(4),364-376.
คณะอนุกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556-2558. (2558).แนวทางการปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การดูแลภาวะครรภ์เป็นพิษ.
เบญจมาภรณ์ นาคามดี. (2564). เอกสารประกอบการสอบบทที่ 4 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงเนื่องจากการตั้งครรภ์ ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช,น.1-24.