Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ, นางสาวรุ่งธิดา วันจงคำ 621201151 -…
หน่วยที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดปัญหาการใช้ยา
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่
ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุ
2.1 การใช้ยาด้วยตนเอง (self-medication)
2.2 ความร่วมมือในการใช้ยา (medication adherence)
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลวิทยาในผู้สูงอายุ (Phamacologicalchang in elderly)
เภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic)
การศึกษาถึงวิธีการที่ร่างกายจัดการกับยาที่ได้รับเข้าไป
1.2 การกระจายตัวของยา (drug distribution)
1.3 เมตะบอลิสมของยา (drug metabolism)
1.1 การดูดซึมยา (drug absorption)
1.4 การขับถ่ายยาทางไต (renal excretion)
เภสัชพลศาสตร์ (Phamacodynamic change)
การศึกษาการออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย (what drug does to the body) หรือการที่ยามีผลต่อร่างกายเกี่ยวข้องทั้งผลทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยาของยา กลไกที่ทำให้เกิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์คือฤทธิ์ในการรักษา และผลที่ไม่พึงประสงค์คือ อาการข้างเคียงและพิษของยา การจับของยาเข้ากับโมเลกุลของร่างกายที่ท าหน้าที่เป็นตัวรับ (drug target) รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย (dose-response relationship)
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตราย ยาที่เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างยา และการพยาบาล
กลุ่มยาาต้านโรคจิตและโรคซึมเศร้า
(antipsychotic and antidepressant drugs)
ชื่อยา/กลุ่มยา
lithium
การพยาบาล
ห้ามใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายจากหลอดเลือดอุดตัน
ผลข้างเคียง/อันตราย
พิษต่อระบบประสาท เช่น สับสน เพ้อคลั่ง ชัก
ชื่อยา/กลุ่มยา
amitriptylline
ผลข้างเคียง/อันตราย
postural hypotension ความจำเสื่อมเฉียบพลัน
การพยาบาล
พยาบาลควรระวังอาการ postural hypotension หลงลืม
กลุ่มยายาระงับปวดและลดการอักเสบ
(analgesic and anti-inflammatorydrugs)
ผลข้างเคียง/อันตราย
กดศูนย์การหายใจแผลในระบบทางเดินอาหาร พิษต่อไตและตับ กระดูกพรุน/หัก สับสน ความจำเสื่อม
การพยาบาล
พยาบาลควรติดตามการวัดสัญญาณชีพผู้สูงอายุ
โดยเฉพาะการหายใจ สังเกตอาการเกิดแผลในทางเดินอาหาร
ชื่อยา/กลุ่มยา
analgesic and antiinflamma tory
กลุ่มยาที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular drugs)
ชื่อยา/กลุ่มยา
thaiazides
การพยาบาล
หากจำเป็นต้องให้ยากลุ่มนี้ในผู้สูงอายุ พยาบาลควรสังเกตภาวะโปแตสเซียมต่ำ
ผลข้างเคียง/อันตราย
โปแตสเซียมต่ำ น้ำตาลในเลือดและกรดยูริคสูงหน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ เพราะbaroreceptor มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิตน้อย
ชื่อยา/กลุ่มยา
calcium chanel blocker
ผลข้างเคียง/อันตราย
ไม่มี จึงควรแนะนำให้ใช้ยากลุ่มนี้
การพยาบาล
พยาบาลควรแนะนำให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำมาก ป้องกันท้องผูก
ชื่อยา/กลุ่มยา
beta blocker
ผลข้างเคียง/อันตราย
เลือดไปเลี้ยงแขนขาลดลง ลดความ สามารถในการขยับแขนขา
การพยาบาล
พยาบาลควรแนะนำหรือกระตุ้นให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย
ชื่อยา/กลุ่มยา
digoxin
ผลข้างเคียง/อันตราย
หัวใจเต้นผิดจังหวะทำให้เสียชีวิต
การพยาบาล
ยากลุ่มนี้ทำให้หัวใจเต้นช้าลง หากผู้สูงอายุได้รับยากลุ่มนี้ พยาบาลต้องตรวจวัดชีพจรของผู้ป่วย โดยเฉพาะอัตราการเต้นและความสม่ำเสมอของชีพจร หากพบว่าชีพจรเต้นน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที ควรให้ผู้สูงอายุหยุดยาและรีบมาพบแพทย์ทันที
กลุ่มยายาต้านจุลชีพ (antimicrobial drugs)
ผลข้างเคียง/อันตราย
ค่าครึ่งชีวิตนานเป็น 2 เท่า จึงท าให้มีพิษต่อไตมาก
การพยาบาล
พยาบาลควรให้อย่างช้าๆ เฝ้าระวังอาการแสดงของไตวาย
ชื่อยา/กลุ่มยา
aminoglyco side group (gentamicin,kanamicin)
กลุ่มยายาลดความดันโลหิตสูง (antihypertensive agent)
ผลข้างเคียง/อันตราย
ความดันโลหิตต่ำลงขณะเปลี่ยนท่า นั่ง นอนมาเป็นยืน ส่งผลให้เกิดการพลัดตกหกล้ม
การพยาบาล
พยาบาลควรติดตามระดับความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ เฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มจากการเปลี่ยนท่าอย่างฉับพลันของผู้สูงอายุ
ชื่อยา/กลุ่มยา
ACE- inhibitors
กลุ่มยานอนหลับ (hypnotic drugs)
ผลข้างเคียง/อันตราย
ง่วงงุนงง สับสน
กดประสาทส่วนกลาง
กดศูนย์การหายใจ
การพยาบาล
ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ควรหลีกเลี่ยงยากลุ่มนี้
เพราะอาจทำใหสับสนมากยิ่งขึ้น
ชื่อยา/กลุ่มยา
benzodiazepines
barbiturates
กลุ่มยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic agent)
ผลข้างเคียง/อันตราย
ภาวะน้ำตาลต่ำ
ภาวะโซเดียมต่ำ
ขาดสารอาหารและแร่ธาตุ
การพยาบาล
ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยงยากลุ่มดังกล่าว หากจำเป็นต้องใช้ยา กลุ่มดังกล่าว พยาบาล ควรสังเกตอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ชื่อยา/กลุ่มยา
chlorpropamide
กลุ่มยากันชัก (anti convulsant)
ชื่อยา/กลุ่มยา
Phenobarbital
ผลข้างเคียง/อันตราย
ทำให้เกิดภาวะพร่องวิตามินดี เกิดกระดูกเปราะ
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาหลายชนิดร่วมกันหลายขนาน (polypharmacy) เนื่องจากแพทย์หลายคน ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาของยาต่อผู้ป่วย (drug-patient reaction) และการเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยาต่อยา (drug-drug reaction)ที่ส่งผลให้ฤทธิ์ของยาเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้ยา (human error) ได้แก่ การซื้อยามารับประทานเองการรับประทานยาที่หมดอายุ เนื่องจากไม่มีความรู้
ในการอ่านวันหมดอายุหรือรวมยาหลายชนิดไว้ด้วยกันความเชื่อ
เรื่องการรับประทานยาสมุนไพร เป็นต้น
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยา
แนวปฏิบัติของพยาบาลในการส่งเสริม
การใช้ยาอย่างถูกต้องในผู้สูงอายุ
อธิบายเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพและการหมดอายุของยา
อธิบายความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
ให้ความรู้เกี่ยวกับจุดประสงค์ในการให้ยาแต่ละชนิด การออกฤทธิ์ของยา อาการข้างเคียงทีอาจเกิดขึ้น อาการของการทำปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยากับยา ความจำเป็นในการรับประทานยาให้ตรงตามขนาด เวลา ต่อผู้สูงอายุ ผู้ดูแล
จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถ
ใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวัยสูงอายุ (aging process)
ประเมินครอบครัว ผู้ดูแลที่ใกล้ชิดผู้สูงอายุเกี่ยวกับความรู้ของการใช้ยาพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาของผู้สูงอายุ แก่ผู้ดูแล
ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้ยาหลายชนิด ค่าใช้จ่าย การใช้ยาสมุนไพรที่ไม่หรือยาหลายชนิดที่ไม่สมเหตุสมผล
อาหารเสริมต่างๆ เป็นต้น
แนะนำผู้สูงอายุ และญาติให้ปรึกษาแพทย์และเภสัชกรทุกครั้ง ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง ไม่ใช้ยาของบุคคลอื่นแม้จะป่วยเป็นโรคคล้ายคลึงกัน เพราะอาจเกิดพิษจากยาได้
ประเมินความเข้าใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการใช้ยา
หากพยาบาลประเมินพบว่าผู้สูงอายุมีอาการแสดงจากผลข้างเคียงของการใช้ยา หรือการเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยา
ประเมินเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาของผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม
การส่งเสริมการรักษาจากการไม่ใช้ยาผู้สูงอายุบางรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
และปัญหาด้านพฤติกรรม
การประเมินและทบทวนการบริหารยาของผู้สูงอายุและผู้ดูแลโดยเฉพาะอย่างยิ่งพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน
ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีส่วนสนับสนุนการดูดซึมยา การกระจายตัวของยา หรือป้องกันการเกิดผลข้างเคียงจากยา
จัดโปรแกรมการสอนเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้องสมเหตุสมผลโปรแกรมร่วมอื่นๆ เพื่อส่งเสริมการใช้ยาที่ถูกต้อง
นางสาวรุ่งธิดา วันจงคำ 621201151