Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบไร้ท่อ ( Gonadal Hormones ) - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบไร้ท่อ
( Gonadal Hormones )
เอสโตรเจน
กลไกการออกฤทธิ์
ซึมผ่านพลาสมาเมมเบรน
จับกับตัวรับจำเพาะต่อฮอร์โมนนั้นๆในไซโตพลาส
steroid-receptor complex
เปลี่ยนรูปร่าง ซึมเข้านิวเคลียสจับกับตำแหน่งจำเพาะบนโครมาติน
กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์ RNAและโปรตีน
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยา
ต่อระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ควบคุมการเกิดประจำเดือน
ฤทธิ์ต่อเมทาบอลิซึม
ประโยชน์ทางคลินิก
ยาคุมกำเนิด
ทดแทนฮอตโมน
ปวดประจำเดือน
เด็กผู้หญิงที่รังไข่ไม่สมบูรณ์
กระดูกพรุน
อื่นๆ
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ เลือดออกกระปริบกระปรอย เจ็บคัดเต้านม น้ำหนักเพิ่มบวม
ฝ้า เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะเลือดอุดตัน
สารก่อมะเร็ง และเป็นสารก่อลูกวิรูป
ข้อห้ามใช้
ผู้เป็น estrogen dependent neoplasms
ผู้หญิงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้หญิงให้นมบุตร
ผู้มีประวัติโรคหัวใจและหลอดเลือด ตับ ไต ไมเกรน ลมชัก ซึมเศร้า
ผู้ป่วย thromboembolic disorder
ยาเตรียม
แบบรับประทาน ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ให้ทางผิวหนัง ใช้เฉพาะที่
ตัวอย่างยา
Clomiphene หญิงมีบุตรยาก ( กระตุ้นการตกไข่ )
Fulvestrant มะเร็งเต้านม
โปรเจสเตอโรน
ชนิดของโปรเจสเตอโรน
19 nortestosterone
รุ่นที่ 1 เช่น norethisterone acetate
รุ่นที่ 2 เช่น norgestrel
รุ่นที่ 3 เช่น desogestrel
รุ่นที่ 4 เช่น drospirenone
17 hydroxy progesterone
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยา
ส่งผลต่อเต้านม
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ฤทธิ์ต่อเมทาบอลิซึม
ประโยชน์ทางคลินิก
ป้องกันภาวะแท้ง
รักษาปวดประจำเดือน
ยาคุมกำเนิด
ฮอร์โมนทดแทน
อาการข้างเคียง
เลือกออกกระปริดกระปรอย อ่อนเพลีย น้ำหนักเพิ่ม เจ็บคัดเต้านม น้ำตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง กล้ามเนื้อหัวใจตายในระหว่างตั้งครรภ์ โปรเจสเตอโรนมีฤทธิ์ก่อลูกวิรูป
ยาเตรียมและขนาดที่ใช้
แบบรับประทาน ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
แอนโดรเจน
ชนิดที่สำคัญคือ เทสโทสเตอโรน
สร้างขึ้นในอัณฑะและเปลือกนอกต่อมหมวกไต
เพศหญิงสร้างจากรังไข่และเปลือกนอกต่อมหมวกไต
อาการข้างเคียง
เพศหญิง ได้แอนโดรเจนสูง เกิดขนดก สิว กดการมีประจำเดือน อวัยวะเพศใหญ่ขึ้น เสียงห้าว เกิดการคั่งของNa,H2O
เพศชายที่ขาดแอนโดรเจนและรับแอนโดรเจนอาจเกิดต่อมลูกหมากโต ปัสสาวะไม่ออก อาที่พบทั่วไปคือคลื่นไส้ ความรู้สึกทางเพศลดลงหรือเพิ่ม เป็นไข้ เป็นสิว เป็นหมัน หมดสมรรถภาพทางเพศ
ประโยชน์ทางคลินิก
ภาวะที่อัณฑะสร้างฮอร์โมนน้อย
รักษาภาวะโลหิตจาง
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ประกอบด้วยฮอร์โมน 2ชนิด
เอสโตรเจน ethinyl estradiol (EE) and mestranol
โปรเจสเตอโรน norethisterone, lynestrenol, levonorgestrel, desogestrel, cyproterone acetate and drospirenone
ชนิดของยาเม็ดคุมกำเนิด
ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม
ชนิดที่มีฮอร์โมนในขนาดคงที่
ชนิดที่มีฮอร์โมนในขนาดคงที่แตกต่างกัน
ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีโปรเจสเตอโรนอย่างเดียว
ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่ง FSH ทำให้ไข่ไม่เจริญ
ยับยั้ง LH ทำให้ไม่มี LH surge ไม่มีการตกไข่
ผลต่อเยื่อเมือกปากมดลูก P
ผลต่อเยื่อบุโพรงมดลูก
ผลต่อท่อนำไข่ E
ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง
Thioamides
ยาPropylthiouracil (PTU), Methimazol (MMI)
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง กดไขกระดูกโดยเฉพาะการลดลงของเม็ดเลือดขาว
Iosides
ยาSaturated solution of potassium iodide (SSKI), Lugol's solution
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง พิษไอโอดีน
Radioactive iodine (RAI) : การกินแร่
ผลข้างเคียง ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำ กดไขกระดูก
กลไกการออกฤทธิ์ ปล่อยรังสีเบต้าทำลายต่อมธัยรอยด์
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
Levothyroxine (T4)
T4 ได้จากการสังเคราะห์
ผลข้างเคียง : หากได้รับยามากจนทำให้ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง ผู้ป่วยจะมีอาการหัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย
ทนร้อนไม่ได้ น้ำหนักลด
Liothyronine (T3)
T3 ได้จากการสังเคราะห์
ผลข้างเคียง : ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยาเช่นเดียวกับ levothyroxine
เบาหวาน
ความหมาย
คือความผิดปกติทางเมมาบอลิซึม คือ ระดับกลูโคสในเลือดสูง (hyperglycaemia)
ผลมาจากความบกพร่องการหลั่งอินซูลิน หรือเซลล์ร่างกายไม่สามารถนำอินซูลินไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือทั้งสองอย่าง
ภาวะดื้อต่ออินซูลิน คือภาวะที่เซลล์มีการตอบสนองต่ออินซูลินลด
สามารถทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน การทำงานอวัยวะต่างๆ
ไม่เหมือนเดิม
ประเภท
ประเภทที่ 1 ไม่มีอินซูลินหลั่งออกมาจากตับอ่อน ต้องการอินซูลินจากภายนอกร่างกาย
ประเภทที่ 2 มีอินซูลินหลั่งออกจากตับอ่อนน้อย และ/หรือเกิดดื้อต่ออินซูลิน
ประเภทที่ 3 โรคเบาหวานจากสาเหตุอื่น
ประเภทที่ 4 โรคเบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์
การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา : เช่นควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย
การรักษาโดยการใช้ยา
1.ยาฉีดอินซูลิน (Insulin)
ข้อบ่งใช่
ลดระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานทุกประเภท
type I DM, gestational DM ใช้เฉพาะอินซูลินเท่านั้น
type II DM ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น ใช้ยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดอื่นไม่ได้ผล, โรคตับหรือโรคไตระดับรุนแรง, รักษาระดับโปแทสเซียมในเลือดสูง ( hyperkalemia ), ผ่าตัด ติดเชื้อ diabetes ketoacidosis
กลไกการออกฤทธิ์
นำกลูโคสจากเลือดเข้าสู่เซลล์
เปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจน
นำโปแทสเซียมเข้าสู่เซลล์ (พร้อมน้ำเข้ากับกลูโคส
ผลข้างเคียง
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ตุ่มนูนแข็งจากไขมันใต้ผิวหนังตรงตำแหน่งที่ฉีด
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
การใช้ยาร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์ ลด ระดับน้ำตาลในเลือด
การใช้ยาร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์ เพิ่ม ระดับน้ำตาลในเลือด
2.ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic drugs)
ข้อบ่งใช้: ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2
กลุ่ม Thiazolidinenes
กลุ่ม Alpha - glucosidase
กลุ่ม Biguanides
ตัวยา : Metformin
กลไกการออกฤทธิ์ : เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน
ลดการสร้างกลูโคสจากตับ
ข้อห้ามใช้ : ห้ามใช้กับผู้ป่วยภาวะไตทำงานบกพร่อง หัวใจวาย ระบบไหลเวียนล้มเหลว
ผลข้างเคียง :
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ท้องเสีย แสบยอดอก น้ำหนักลด ลดการดูดซึมวิตามินบี12และfolic acid การคั่งของกรดแลคติก
กลุ่ม Incretin-based drugs (oral/injection)
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์
กลุ่ม Sulfonylureas
กลไกการออกฤทธิ์ : กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน
ผลข้างเคียง :น้ำหนักเพิ่ม ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง
ข้อห้ามใช้ : ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่แพ้ยากลุ่มนี้
กลุ่ม Meglitinides
กลุ่ม SGLT-2 inhibitors
Amylin analog : Pramlintide