Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะช็อก หมดสติ - Coggle Diagram
การช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะช็อก หมดสติ
สาเหตุภาวะช็อก
Hypovolemic shock
การสูญเสียเลือด เช่น การมีเลือดออกทางเดินอาหาร
การสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย เช่น การถ่ายเหลวอย่างรุนแรง
Cardiogenic shock
Intrinsic cardiogenic shock
เกิดจากการสูญเสียหน้าที่การบีบตัวของหัวใจ มักพบว่าเกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือเกิดจากจังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ เช่น มีการเต้นเร็วและช้าเกินไป หรือเกิดล้นหัวใจ mitral หรือ aortic รั่วอย่างรุนแรง เป็นต้น ซึ่งอาจทำให้ cardiac output ลดลง จนก่อให้เกิดการพร่องของระบบไหลเวียนตามมา
Cardiac obstructive shock and compressive shock
acute pulmonary thromboembolism
ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยง เช่น อัมพาต อายุมาก อ้วน หรือมีการผ่าตัดข้อและกระดูก เมื่อมีการเกิด pulmonary embolism จะทำให้มีการลดลงของ preload เกิดความดันโลหิตต่ำ
Distributive shock
สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของ systemic vascular resistance
anaphylactic shock
เป็นการช็อกที่เกิดจากการแพ้ต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ ทำให้มีการหลั่งของ antibody ในร่างกาย โดยเฉพาะ IgE ออกมาจาก mast cell อย่างมากมาย ทำให้เกิดการขยยของหลอดเลือดส่วนปลาย ทำให้ความดันลดลง
neurogenic shock
เป็นสาเหตุช็อกที่พบได้ไม่บ่อยนัก มักพบกับผู้ที่มีอุบัติเหตุที่กระทบกระเทือนต่อไขสันหลังอย่างรุนแรง หรือผู้ที่มี severe head injury จนทำให้มีความผิดปกติของประสาท sympathetic vasomotor input ทำให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดส่วนปลาย จนเกิดภาวะช็อกได้
septic shock
เกิดจากการติดเชื้อในส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายและกระตุ้นให้เกิดการหลั่งสารต่างๆ ตามมา เช่น nitric oxide เป็นต้น ซึ่งสารเหล่านี้จะทำให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดส่วนปลายมากขึ้น จนทำให้เกิด afterload ที่ลดลง ก่อให้เกิดความดันต่ำลง
hypoadrenal shock
ในคนปกติถ้ามีความเครียดเกิดขึ้น เช่น ติดเชื้ออย่างรุนแรง การบาดเจ็บ หรือการผ่าตัด พบว่า adrenal gland จะมีการหลั่ง cortisol ออกมาเพื่อควบคุมความตึงตัวของหลอดเลือดในอยู่ในภาวะปกติ ทำให้ความดันโลหิตปกติ ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ adrenal gland เช่น การทำงานน้อยลง จะทำให้การตึงตัวของหลอเลือดส่วนปลายลดลงจนทำให้เกิดภาวะช็อก
อาการแสดงตามระบบของ Shock
Central nervous system
drowsy
lethargy
encephalopathy
cortical necrosis
Cardiovascular system
Tachycardia
myocardial ischemia
bradycardia
peripheral vasoconstriction
Respiratory system
hyperventilation
respiratory failure
hypoxemia
Peripheral vasoconstriction
Genitourinary system
renal failure
acute tubular necrosis
oliguria
Gastrointestinal system
pancreatitis
non-occlusive ischemic bowel syndrome
Endocrinologic system
hypoglycemia
lactic acidosis
hyperglycemia
การรักษา
Cardiogenic shock
reperfusion therapy ใน acute
pulmonary thromboembolism
การใหantiarrhythmic agent ในผู้ป่วยที่มี arrhythmia
การใส่สาย intercostal drainage (ICD) ในผู้ป่วย tension pneumothorax
pericardiocentesis ในผู้ป่วย cardiac tamponade
Hypovolemic shock
การแก้ไข preload ให้เพียงพอกับปริมาณน้ำที่สูญเสียไป
หาสาเหตุที่ทำให้เกิดการสูญเสียสารน้ำและแก้ไขที่สาเหตุ
anaphylactic shock
Epinephrine 1:1000 (1 มก./1 มล)
Antihistamine 1 มก./กก./ครั้งในเด็ก หรือ 25-50 มก.ในผู้ใหญ่
corticosteroid 1-2 มก./กก./ครั้งในเด็ก หรือ 50-100 มก. ในผู้ใหญ่
salbutamol 0.003 มล./กก./ครั้ง
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำชนิด Crystalloid
septic shock
การให้ยาปฏิชีวนะ
การกำจัดแหล่งของการติดเชื้อ
การรักษาประคับประคอง
neurogenic shock
พิจราณาให้สารน้ำ
ให้ยาที่ช่วยในการหดรัดตัวของหลอดเลือด เช่น norepinephrine
hypoadrenal shock
การให้สารน้ำอย่างเหมาะสม
ให้ hypocortisone ขนาด 3000 mg และค่อยๆลดเรื่อยเมื่อควบคุมความดันโลหิตได้
การตรวจร่างกาย
Hypovolemic shock
postural hypotension
สัญญาณชีพ
Pulse pressure ความกว้างที่มากกว่า 50 mmHg ผิดปกติ
ความดันต่ำว่า 90/60 mmHg
Capillary refill ช้ามากกว่า 3 วินาที แสดงว่าช้ากว่าปกติ
ผิวหนัง เย็นชื้น ซีด
Cardiogenic shock
สัญญาณชีพ
jugular vein engorgement เนื่องจากมีความดันหัวใจห้องบนขวาสูงขึ้น
Lung sound เน้นการฟังที่บริเวณชายปอดทั้ง 2 ข้าง หากพบว่ามีเสียง crepitation
Heart sound โดยตรวจหา S3 galloping sound ซึ่งบ่งบอกว่ามี systolic disfunction
Distributive shock
ตรวจร่างกายไม่พบ peripheral vasoconstriction
ตรวจปลายมือปลายเท้าอุ่น แดง เนื่องจากมีการขยายหลอดเลือดดำ และมีเลือดคั่งอยู่ในระบบหลอดเลือดดำมากกว่าปกติ
anaphylactic shock
ฟังปอดได้ยินเสียงหวีด
สัญญาณชีพ
ความดัน systolic ที่ถือว่าต่ำ
น้อยว่า 60 mmHg ในเด็กอายุ 0-28 วัน
น้อยกว่า 70 mmHg ในเด็กอายุ 1 เดือน- 1 ปี
น้อยกว่า 90 mmHg อายุ 11 ปีขึ้นไป
น้อยว่า 70 mmHg + (2*อายุเป็นปี) ในเด็กอายุ 1-10 ปี
ระบบผิวหนัง ผื่นที่ผิวหนัง
ระบบทางเดินหายใจ
ฟังปอด เสียงวีด, stridor
Septic shock
สัญญาณชีพ
ความดันโลหิตต่ำกว่า 90|60 mmHg
Heart rate. เพิ่มขึ้น
อาจมีไข้
อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น
การตรวจทางห้องปฏฺิบัติ/การตรวจพิเศษ
Cardiogenic shock
echocardiogram
chest x-ray
electrocardiogram
ค่า Troponin
anaphylactic shock
การตรวจระดับ serum total tryptase
การตรวจปฏิกิริยาภูมิแพ้ทางผิวหนัง
การตรวจเลือด specific IgE antibody
การตรวจปฏิกิริยาภูมิแพ้โดยการกิน
Septic shock
Hypovolemic shock
Red blood cell Count
Hematocrit
Hemoglobin
อาการ
Cardiogenic shock
นอนราบไม่ได้
ไอมีเสมหะเป็นฟอง
อาการเหนื่อย
ตัวเย็น ซีด
anaphylactic shock
ทางเดินหายใจ
หอบเหนื่อย หายใจเสียงหวีด
การบวมของระบบหายใจส่วนบน
เยื่อบุจมูกอักเสบ
ทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง
ผิวหนัง
ผื่นแดง
คันโดยไม่มีผื่น
ผื่นลมพิษและ angioedema
อาการอื่นๆ
ปวดศีรษะ แน่นหน้าอก ชัก
Hypovolemic shock
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ตัวเย็น ซีด
หายใจถี่ ตื้น
Septic shock
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ผู้ป่วยหมดสติ