Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 6 การพยาบาลผู้คลอดและทารกในครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle…
บท 6
การพยาบาลผู้คลอดและทารกในครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic Fluid Embolism: AFE)
ภาวะที่มีน้ำคร่ำ ไขตัวทารก เส้นผม ขนตามตัว
และขี้เทา หลุดเข้าสู่ระบบการไหลเวียนเลือดของผู้คลอด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก
หายใจเหนื่อยหอบ
ปอดบวมน้ำ
เขียวตามใบหน้า
หมดสติอย่างกระทันหัน
ความดันโลหิตต้ำเฉียบพลัน
ผลต่อมารดา
ตกเลือด
ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ
ผลต่อทารก
ขาดออกซิเจน
อาจเสียชีวิต
การพยาบาลเพื่อป้องกัน
ประเมิน ปัจจัยเสี่ยง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ติดตามการแข็งตัวของเลือด
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ให้ออกซิเจนทาง face mask 8-10 L/min
เปิดเส้นเลือด โดยใช้เข็มเบอร์ใหญ่
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกอย่างต่อเนื่อง
ฟังเสียงหัวใจทารกตลอดเวลา
สาเหตุ
ความดันในโพรงมดลูก
ถุงน้ำคร่ำตก
รกลอกตัวบริเวณริมรก
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
การป้องกัน
เจาะถุงน้ำคร่ำอย่างระวัง
ไม่กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวจนเกินไป
กรณีทารกตายในครรภ์ ไม่ควรเจาะถุงน้ำก่อนที่เปิดมดลูกจะเปิดหมด
การรักษา
แก้ไขอย่างเร่งด่วน
ช่วยฟื้นคืนชีพตามหลัก ABC
แก้ไขภาวะ DIC
Shock
อาการและอาการแสดง
ชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ
ผิวหนัง เยื่อบุต่างๆ เขียวซีด
อุณหภูมิกายต่ำ
ปัสสาวะออกน้อย
กระสับ กระส่าย ชัก
ประเภทของการช็อกทางสูติศาสตร์
ปริมาตรเลือดลดลง
ช็อกจากการติดเชื้ออย่างรุนแรงในระยะคลอด
ช็อกที่เกิดจากร่างกายมีปฏิกิริยาแพ้อย่างรุนแรง
ช็อกที่เกิดจากผู้คลอดได้รับความเจ็บปวดรุนแรง
ผลกระทบต่อผู้คลอด
ได้รับการตัดมดลูก
ผลกระทบต่อทารก
fetal distress
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดให้นอนราบ
บันทึก I/O
ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ภาวะเสียสมดุลการแข็งตัวของเลือด
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกเป็นจ้ำๆ บริเวณเหงือก
เลือดออกมากในระยะหลังรกคลอด
แน่นหน้าอกหายใจไม่ออก
thrombosis
สาเหตุ
รกลอกก่อนกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
Severe pre-eclampsia
รกค้าง
Amniotic fluid embolism
ช็อก
การประเมิน
การเจ็บป่วยในอดีต
ตรวจร่างกายพบจ้ำเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติ เช่น Prothrombin time นานกว่าปกติ
การพยาบาล
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอดและฝีเย็บ
ประเมินการหดรัดตัวมดลูก
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับเลือดตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที 30 นาที และทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินอาการนำของภาวะช็อก
ภาวะมดลูกแตก
สาเหตุ
แตกเอง
แตกจากการกระทบกระเทิอน
อาการและอาการแสดงก่อนมดลูกแตก
กระสับกระส่าย
มดลุูกหดรัดดัวแบบเกร็ง
ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกช้ากว่าปกติ
การคลอดไม่ก้าวหน้า และส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลง
อาการและอาการแสดงเมื่อมดลูกแตก
อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันที
ผู้คลอดมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
เมื่อตรวจทางหน้าท้อง คลำได้ส่วนยอดมดลูกแข็ง กลม
มีเลือดสดออกทางช่องคลอดจำนวนมาก
คลำส่วนของทารกได้ชัดเจนทางหน้าท้อง
ฟังเสียงหัวใจทารก พบว่ามีอัตราการเต้นช้าลง
ภาวะแทรกซ้อนต่อผู้คลอด
การเสียเลือด ภาวะช็อกจากการเสียเลือด และอาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
ภาวะขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย พบอาการกดเจ็บเมื่อปล่อย ท้องโป่ง ตึง คลำส่วนของทารกได้ชัดเจน
ผลตรวจระดับฮีโมโกลบิน ฮีมาโตคริตต่ำลง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะมดลูกแตก
ซักประวัติเกี่ยวกับการผ่าตัดมดลูก
เมื่อเข้าระยะคลอด ควรเลือกทำหัตถการเฉพาะที่จำเป็น
การพยาบาลเมื่อผู้คลอดมีอาการ
ถ้าผู้คลอดได้รับออกซิโตซิน ให้หยุดให้ทันที
รายงานสูติแพทย์ด่วน ถ้าพบ Bandl’s ring
ให้ออกซิเจน face mask 10 ลิตรต่อนาที
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทุก 5 นาที
ทำการผ่าตัดมดลูก
ติดตามประเมินสัญญาณชีพของมารดาอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การพยาบาลผู้คลอดที่มีอาการแสดงว่ามดลูกแตกแล้ว
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ให้ออกซิเจนทาง face mask อัตรา 8-10 ลิตรต่อนาที
ช่วยเหลือเตรียมผ่าตัดคลอดอย่างเร่งด่วน
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
ชนิดของสายสะดือพลัดต่ำ
Occult prolapsed cord
Forelying cord หรือ umbilical presentation
Complete prolapsed cord
สาเหตุ
ส่วนนำของทารกไม่กระชับกับส่วนล่างของช่องเชิงกราน
สายสะดือยาวกว่าปกติ
รกเกาะต่ำ
ศีรษะทารกอยู่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมารดาครรภ์หลัง
ภาวะแทรกซ้อนต่อผู้คลอด
ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ด้วยการผ่าตัดคลอด
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
อาจเสียชีวิต หากไม่ได้รับการช่วยเหลือแก้ไขทันเวลา
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
ให้รีบมาโรงพยาบาลทันทีที่ถุงน้ำคร่ำแตก
ประเมินเสียงหัวใจทารกทันทีภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก
ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ให้นอนพักบนเตียง
เฝ้าประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทุก 30 นาที
รายงานสูติแพทย์ทันที
จัดท่านอนที่ช่วยลดการถูกกดทับของสายสะดือ
ให้ออกซิเจนทาง face mask 8 – 10 ลิตรต่อนาที
ปรับเพิ่มจำนวนหยด IV ตามแผนการรักษา
กรณีให้ยาออกซิโตซิน ควรหยุดทันที
เตรียมให้การคลอดสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุด
การคลอดเฉียบพลัน
สาเหตุ และปัจจัยส่งเสริม
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อบริเวณช่องคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
เนื้อเยื่อต่างๆ มีการยืดขยายมาก
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
ทารกตัวเล็ก หรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์มาก มดลูกหดรัดตัวอย่างรุนแรง และถี่มากกว่า 5 ครั้งใน เวลา10 นาที ตรวจทางช่องคลอด พบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
การวินิจฉัย
เริ่มเจ็บครรภ์จนคลอดน้อยกว่า 3 ชั่วโมง
ตรวจทางช่องคลอด พบว่าปากมดลูกเปิดมากกว่า 5 เซนติเมตรต่อชั่วโมง
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรงและถี่
ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ 50-70 มิลลิเมตรปรอท
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
มดลูกแตก
มีการฉีกขาดของช่องคลอด
ติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
asphyxia และ sholder dystocia
คำแนะนำในการทาคลอดเฉียบพลัน
ให้หาผ้าที่สะอาดรองบริเวณก้นของผู้คลอด เพื่อให้ทารกเกิดบนผ้า
ช่วยทารกให้หายใจ โดยทำให้ทารกร้อง เช็ดตัวให้แห้งมากที่สุด
ผูกสายสะดือให้ยาวไว้ และห่อตัวทารกให้อบอุ่น
รีบนำส่งสถานพยาบาล
ทำคลอดรกอย่างถูกวิธี ตรวจรก และเยื่อหุ้มทารกให้ครบ
ตรวจร่างกายทารกแรกเกิดโดยกุมารแพทย์
การรักษา
ให้การดูแลตามอาการ
ในรายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดรัดตัวของมดลูกควรหยุดให้ และดูแลอย่างใกล้ชิด
ผ่าตัด ทำในรายที่มีการคลอดเฉียบพลัน
การฉีกขาดของหลอดเลือดที่เยื่อหุ้มทารก
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
ซีด อ่อนเพลีย และความดันโลหิตลดลง
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
มีความเสี่ยงสูงที่ทารกจะเสียชีวิต หรือหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะที่เส้นเลือดของสายสะดือ หรือของรกทอดอยู่บน fetal membrane ผ่าน internal os และอยู่ต่ากว่าส่วนนำของทารก ทำให้ง่ายต่อการถูกกด
แนวทางการรักษา
ถ้าวินิจฉัยได้ก่อนคลอด ให้คลอดโดยวิธีการผ่าตัด
กรณีทารกมีอายุครรภ์ที่สามารถเลี้ยงรอดได้ ให้ผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน
กรณีทารกมีอายุครรภ์น้อย หรือเสียชีวิตแล้ว ให้คลอดทางช่องคลอด
การพยาบาล
พบเลือดปนออกมาพร้อมกับน้ำคร่ำ และให้รีบรายงานสูติแพทย์ และเตรียมผู้คลอดเพื่อผ่าตัดคลอด
ประเมินและติดตามเสียงหัวใจทารกอย่างใกล้ชิด
การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะมดลูกปลิ้น
ภาวะที่เยื่อบุด้านในของมดลูกปลิ้นกลับออกมาอยู่ด้านนอก และโผล่ออกมาทางช่องคลอด โดยอาจปลิ้นออกมาทั้งหมด หรือบางส่วน มักเกิดในระยะที่ 3 ของการคลอด
สาเหตุ
กดที่บริเวณยอดมดลูก
ภาวะมดลูกไม่แข็งตัว และการฝังตัวของรกผิดปกติ
ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
คลำพบยอดมดลูก เป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
มีอาการปวด ช็อก (neurogenic shock) ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลัน
ผลกระทบต่อมารดา
ตกเลือด ช็อก หากได้รับการช่วยเหลือไม่ทัน มารดาอาจเสียชีวิต
แนวทางการรักษา
ใช้ผ้าชุบน้ำเกลืออุ่นคลุม และกดผนังมดลูกที่ปลิ้น
ควรรักษาภาวะช็อกก่อนดันมดลูกกลับ
การดันมดลูกที่ปลิ้นให้กลับเข้าไปในทันทีที่ตรวจพบ
เมื่อมดลูกกลับที่เดิมแล้ว ให้ methergin หรือออกซิโตซิน
ให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ในรายที่ไม่สามารถดันมดลูกกลับในขณะดมยาสลบ ผู้คลอดอาจได้รับการช่วยเหลือโดยการผ่าตัด
การพยาบาลมารดาที่เกิดภาวะมดลูกปลิ้น
วัดสัญญาณชีพทุก 5 นาที และปริมาณเลือดที่ออก
ใช้ผ้าชุบน้ำเกลืออุ่นคลุมมดลูกส่วนที่ปลิ้นออกมานอกช่องคลอด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้การดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด
ประเมินระดับยอดมดลูก และคลึงมดลูกเป็นระยะ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที
บันทึกปริมาณปัสสาวะที่ออก
ภาวะรกติด รกค้าง และการล้วงรก
สาเหตุขาดกลไกการลอกตัวของรก
รกปกติ
รกผิดปกติ
สาเหตุขาดกลไกการขับดัน
รกลอกตัวสมบูรณ์แล้ว
รกลอกตัวแล้ว และมาอยู่ในช่องคลอดแล้ว
ปัจจัยที่ส่งเสริมการลอกตัวของรกไม่ดี
มีแผลเป็นบริเวณมดลูก
มีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็น และความดันโลหิตลดต่ำลง
ผลกระทบต่อมารดา
ตกเลือด
ติดเชื้อ
วิธีการล้วงรก
ผู้คลอดจะได้รับการดมยาสลบ
ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สวนปัสสาวะให้ผู้คลอด
เมื่อผู้คลอดพร้อมสำหรับการล้วงรกแล้ว สูติแพทย์จะเป็นผู้ทำการล้วงรก
ประเมินสัญญาณชีพก่อน และหลังทำการล้วงรก
ตรวจสอบรกที่ล้วงออกมาว่าครบถ้วนหรือไม่
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการล้วงรก
เตรียมสภาพจิตใจของผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการล้วงรก
ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สวนปัสสาวะก่อนทำการล้วงรก
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและหลังการล้วงรกจนปกติ ทุก 30 นาที
จัดท่านอนหลังล้วงรก ให้เป็นท่านอนตะแคง หรือนอนตะแคงหน้า
หากพบอาการดังกล่าวให้รีบรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำและยาตามแผนการรักษา
ดูลักษณะและบันทึกปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด ถ้าพบความผิดปกติให้รายงานแพทย์
ดูแลความสะอาดร่างกายของมารดาหลังคลอด