Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาด้วยไฟฟ้า (ECT) - Coggle Diagram
การรักษาด้วยไฟฟ้า (ECT)
เป็นการทำให้ชักด้วยกระแสไฟฟ้าในปริมาณที่เหมาะสมผ่านเข้าไปในสมอง
ปริมาณกระแสไฟฟ้าอยู่ที่ 70-150 โวลท์
เวลาที่ปล่อยกระแสไฟฟ้า ประมาณ 2-8 วินาที
มีผลทำใหเกิดการชักประมาณ 25-60 วินาที
ชนิดของการทำ ECT
แบ่งตามลักษณะคลื่นไฟฟ้า
Sine wave
Brife pulse wave
แบ่งตามการวางอิเลคโทรด
Bilateral
Unilateral nondominante
แบ่งตามจำนวนการชักในแต่ละครั้งของการทำ ECT
1.Single conventional ECT
2.Multiple Monitored ECT (MMECT)
แบ่งตามการใช้ยาสลบ
Modiified ECT
Unmodified ECT
ระยะของการชัก
1.Unconcious stage ประมาณ 1 วินาที
2.Tonic stage ประมาณ 10 วินาที (ระยะเกร็ง)
3.Clonic stage ประมาณ 30 วินาที (เข้าสู่ระยะชัก)
4.Apnea stage ประมาณ 1-2 วินาที จนหายใจ
5.Sleep stage ประมาณ 5 วินาที
6.Confusion stage ประมาณ 15-20 วินาที หรืออาจถึง 30 วินาที
ข้อบ่งชี้ในการทำ ECT
ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง
ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตรุนแรง มีพฤติกรรมก้าวร้าว
โรคอารมณ์แปรปรวน
โรคจิตเรื้อรังที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผล
ผู้ป่วยที่ทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
ผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาไม่ดี
ข้อห้ามในการทำ ECT
ภาวะที่มีความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคกระดูก มีภาวะกระดูกพรุน
ผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป และร่างกายไม่แข็งแรง
หญิงตั้งครรภ์ ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
อาการข้างเคียง
Headache
Amnesia
Delirium
Memmory loss
Cardiovascular system
Musculoskelton system
Prolong Seizure
จำนวนครั้งที่ใช้ในการรักษา
fective disorder 6-8 ครั้ง
Mania 8-10 ครั้ง
Schizophrenia 10-12 ครั้ง
การเตรียมผู้ป่วย
ตรวจสอบเอกสารยินยอม
ตรวจสอบรายงานการตรวยร่างกาย
งดน้ำและงดอาหาร
ทำความสะอาดร่างกาย
อธิบายให้เข้าใจในการรักษา ดูแลอย่างใกล้ชิด
บอกวันเวลาสถานที่ให้ทราบล่วงหน้า
การพยาบาลหลังทำ ECT
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงาย นอนพักประมาณ 30-60 วินาที
Record V/S ทันทีและหลังจากนั้น 30 นาที
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด หากมี confusion อาจต้องผูกมัด
เช็ดหน้าผู้ป่วยด้วยผ้าบิดหมาด
ทดสอบความรู้สึกตัวก่อนกลับไปพักที่หอผู้ป่วย
ลงบันทึกในประวัติผู้ป่วย ก่อนและหลังทำ