Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ (Drugs acting on endocrine system),…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
(Drugs acting on endocrine system)
เบาหวาน (diabetes mellitus)
ความผิดปกติทางเมตะบอลิซึมซึ่งมีลักษณะสำคัญ คือ ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูง (hyperglycemia)
การรักษา
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
ควบคุมอาหาร, ออกกำลังกาย
การรักษาโดยใช้ยา
ยาฉีดอินซูลิน (insulin)
ข้อบ่งใช้
type I DM, gestational DM ใช้เฉพาะอินซูลินเท่านั้น
type II DM ใช้ในกรณีต่าง ๆ
ใช้ยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดอื่นไม่ได้ผล
รักษาภาวะโปตัสเซียมในเลือดสูง(hyperkalemia)
โรคตับ หรือโรคไตระดับรุนแรง
ผ่าตัด ติดเชื้อ diabetes ketoacidosis
ลดระดับน้ำตาลในเลือดผุ้ป่วยเบาหวานทุกประเภท
กลไกการออกฤทธิ์
นำกลูโคสจากเลือดเข้าสู่เซลล์
เปลี่ยนกลูโคสเป็น Glycogen
นำโปตัสเซียมเข้าสู่เซลล์ (พร้อมกับการนำเข้ากลูโคส)
ผลข้างเคียงอาการไม่พึงประสงค์
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ(hypoglycemia)
หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก หิว ปวดหัว สั่น อ่อนเพลีย ซึม หมดสติ
ต้องเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ติดตามประเมินอาการ ค้นหาความเสี่ยง ป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ
ตุ่มนูนแข็งจากไขมันใต้ชั้นผิวหนังตรงตำแหน่งที่ฉีด (lipohypertrophy) จากการฉีดอินซูลินซ้ำที่ตำแหน่งเดิม
ต้องให้ความรู้เรื่องการฉีดอินซูลิน
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
การใช้ร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด
เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด ทำให้อินซูลินไม่สามารถลดน้ำตาลในเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
glucocorticoids, thiazide diuretics
beta-blockers อาจบดบังอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น หัวใจเต้นเร็ว สั่น
การใช้ร่วมกับยาหรือสารที่มีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด
เพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
sulfonylureas, meglitinides, beta-blockers, alcohol
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic drugs)
Biguanides
Metformin
ผลข้างเคียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผุก น้ำหนักลด ลดการดูดซึมวิตามิน B12 และ folic acid
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะไตทำงานบกพร่อง หัวใจวาย ระบบไหลเวียนล้มเหลว เพราะอาจทำให้เกิดภาวะกรด (lactic acidosis)
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน และลดการสร้างกลูโคสจากตับ
Thiazolidinediones
Pioglitazone
เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน
เพิ่มการนำกลูโคสเข้าเซลล์ และลดการสังเคราะห์กลูโคส
ผลข้างเคียง
บวมน้ำ ,เพิ่ม LDL cholesterol, พิษต่อตับ เช่น ตัวเหลือง ปัสสาวะสีดำ
Sulfonylureas
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้นการหลัั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน
ผลข้างเคียง
น้ำหนักตัวเพิ่ม ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม sulfonamide
ข้อบ่งใช้
ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2
alpha-glucosidase inhibitors
Acarbose, Voglibose, Miglitol
ผลข้างเคียง
ลดการดูดซึมธาตุเหล็ก ผายลมบ่อย ปวดท้อง ท้องเสีย เป็นพิษต่อตับเมื่อใช้ระยะยาว
1 more item...
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร การทำงานของตับ/ไต บกพร่อง
ข้อแนะนำ
รับประทานยาพร้อมอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ alpha-glucosidase และเอนไซม์ amylase เอนไซม์นี้มีหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรตเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
incretin-based drugs
Exenatide, Liraglitide, Albiglutide, Dulaglutide
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่งกลูคาร์กอน
ผลข้างเคียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ตับอ่อนอักเสบ
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยโรคไตวาย , ulcerative colitis, crohn s disease
sitagliptin, Vildagliptin, Saxagliptin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4
ผลข้างเคียง
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน เยื่อจมูกอักเสบ
SGLT-2 inhibitors
Canagliflozin, Empagliflozin, Dapagliflozin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการดูดกลับของกลูโคสที่หน่วยไต
ผลข้างเคียง
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ น้ำหนักลด ของเหลวในกระแสเลือดลดลง
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ (Thyroid disorders)
กลุ่ม thioamides
Propylthiouracil(PTU), Methimazole (MMI)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนไทรอยด์
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูกโดยเฉพาะการลดลงของเม็ดเลือดขาว
ตับอักเสบ ผื่นคัน
hypothyroidism จากการได้รับยามากเกินไป
lodides
saturated solution of potassium iodide(SSKI), Lugols soiution
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์ฮอร์โมนไทรอยด์
ผลข้างเคียง
พิษไอโอดีน (iodism) เช่น ต่อมน้ำลายอักเสบ น้ำลายออกมาก มีไข้ ปวดแสบร้อนในปาก
เป้าหมาย
ลดระดับไทรอยด์ฮอร์โมนให้อยู่ในระดับปกติ
Radioactive iodine
การกินแร่
กลไกการออกฤทธิ์
ปล่อยรังสีเบต้าทำลายต่อมไทรอยด์
อาการไม่พึงประสงค์
กดไขกระดูก ระดับไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ให้นมบุตร
เพิ่มระดับไทรอยด์ฮอร์โมนให้อยู่ในระดับปกติ
Thyroxine(T4), Liothyronine(T3)
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย ทนร้อนไม่ได้ น้ำหนักลด
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
ห้ามกินร่วมกับยาลดกรดในกระเพาะ ยาลดไขมัน เพราะทำให้การดูดซึม (levothyroxine ลดลง)
รูปแบบยากินและรูปแบบยาฉีด
Estrogens
estradiol, estrone, estriol, ethinyl estradiol
กลไกการออกฤทธิ์
ซึมผ่านพลาสมาเมมเบรน
กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์ RNA และโปรตีน
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยาและเภสัชวิทยา
ฤทธิ์ต่อระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของช่องคลอด มดลูก ท่อนำไข่ และเต้านม
เร่งการปิดของ epiphysis ของ long bone
การควบคุมการเกิดประจำเดือน
ฤทธิ์ต่อเมแทบอลิซึม
ยับยั้งการสลายกระดูก
เพิ่มระดับ HDL และลดระดับ LDL
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ เป็นสารก่อมะเร็ง และเป็นสารก่อลูกวิรูป
ประโยชน์ทางคลินิก
ยาคุมกำเนิด โดยใช้ร่วมกับโปรเจสติน
ทดแทนฮอร์โมนในหญิงวัยหมดประจำเดือน
ปวดประจำเดือน โดยให้แบบดป็นรอบ ๆ ให้ร่วมกับโปรเจสเตอโรน
ข้อห้ามใช้
ผู้หญิงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้หญิงให้นมบุตร
ผู้ที่เป็นมะเร็งเต้านม เนื้องอกของเยื่อบุโพรงมดลูก
Anti-estrogen
Clomiphene
หญิงมีบุตรยาก (กระตุ้นการตกไข่)
Fulvestrant
มะเร็งเต้านม
เป็นยาที่มีผลต่อเนื้อเยื่อบางชนิดคล้ายเอสโตรเจน ในขณะที่แสดงฤทธิ์ต้านเอสโตรเจนที่เนื้อเยื่ออื่นได้ คือมีทั้ง agonists และ antagonists ของเอสโตรเจน
Androgens
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยาและเภสัชวิทยา
ในระยะตัวอ่อน มีการพัฒนาของระบบอวัยวะสืบพันธุ์และพัฒนาให้มีลักษณะเพศชายเด่นขึ้น
มีความแตกต่างของหน้าที่ในแต่ละช่วงอายุ
ประโยชน์ทางคลินิก
ภาวะที่อัณฑะสร้างฮอร์โมนน้อย ในรายที่อัณฑะไม่ทำงานหลังวัยแตกหนุ่มแล้ว
รักษาภาวะโลหิตจาง(กระตุ้นการสร้าง erythropoietin)
ชนิดที่สำคัญ คือ เทสโทสเตอโรน
สร้างขึ้นในอัณฑะและเปลือกนอกต่อมหมวกไต
เพศหญิงสร้างเทสโทสเตอโรนจากรังไข่และเปลือกนอกต่อมหมวกไต
อาการข้างเคียง
เพศหญิงถ้าได้รับแอนโตรเจนขนาดสูง
เกิดขนดก สิว กดการมีประจำเดือน อวัยวะเพศขนาดใหญ่ขึ้น เสียงห้าว เกิดการคั่งของโซเดียมและน้ำ
เพศชายที่ขาดฮอร์โมนและได้รับแอนโดรเจน
อาจเกิดต่อมลูกหมากโตทำให้ปัสสาวะไม่ออก
อาการที่พบทั่ว ๆ ไป คือคลื่นไส้ ความรุ้สึกทางเพศเพิ่มขึ้นหรือลดลง เป็นไข้ เป็นสิว เป็นหมัน หมดสมรรถภาะทางเพศ
โปรเจสเตอโรน
ชนิดของโปรเจสเตอโรน
รุ่นที่ 2
norgestrel และ levonorgestrel
รุ่นที่ 3
desogestrel, gestodene และ norgestimate
รุ่นที่ 1
norethisterone acetate, norethylnodrel, lynestrenol ,
ethynodiol diacetate
รุ่นที่ 4
drospirenone
ฤทธิ์ทางสรีรวิทยาและเภสัชวิทยา
ผลต่อเต้านม คือกระตุ้นให้มีการเจริญเติบโต มีการสร้างน้ำนมและมีเลือดมาเลี้ยงเต้านมากขึ้น
เปลี่ยนเยื่อบุโพรงมดลูกให้เหมาะกับการฝังตัวของไข่ที่ผสมแล้ว
เภสัชจลนศาสตร์
ถูกดูดซึมเร็วเมื่อเข้าสู่ร่างกายถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับ ขับออกทางปัสสาวะ
ประโยชน์ทางคลินิก
ป้องกันภาวะแท้ง ซึ่งจะได้ผลดีในคนไข้ที่ขาดโปรเจสเตอโรน แต่ใช้เฉพาะช่วงตั้งแต่ตกไข่ถึงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
รักษาปวดประจำเดือน, เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ขนดก เลือดออกผิดปกติในกรณีที่ใช้เอสโตรเจนไม่ได้
ยาคุมกำเนิด
ฮอร์โมนทดแทนในสตรีวัยหมดประจำเดือน
อาการข้างเคียง
เลือดออกกระปริดกระปรอย อ่อนเพลีย น้ำหนักเพิ่ม เจ็บคัดเต้านม น้ำตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง กล้ามเนื้อหัวใจตายในระหว่างตั้งครรภ์
Mifepristone
ยาคุมกำเนิด เหนี่ยวนำให้เกิดการแท้ง รักษาเนื้องอกที่มดลูก เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ มะเร็งเต้านม
ยาเม็ดคุมกำเนิด (Oral contraceptives)
ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีโปรเจสเตอดรนอย่างเดียว
P ขนาดน้อย ๆ เท่ากันทุกเม็ด
Exluton
ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน
Levonorgestrel 0.75 มก. หลังร่วมเพศไม่เกิน 72 ชม. 12 ชม. 1 เม็ด
Levonorgestrel 1.5 มก. หลังร่วมเพศไม่เกิน 72 ชม.
COC E 2เม็ดหลังร่วมเพศไม่เกิน 72 ชม. 12 ชม. 2 เม็ด
ยาเม้ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม(combined oral contraceptives)
ชนิดที่มีฮอร์โมนในขนาดคงที่
ชนิดที่มีฮอร์โมนในขนาดคงที่แตกต่างกัน
Biphasic pills
Triphasic pills
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง LH ทำให้ไม่มี LH surge และไม่มีการตกไข่
ผลต่อเยื่อเมือกปากมดลูก P ทำให้เมือกมีปริมาณน้อยและเหนี่ยวข้น
ยับยั้งการหลั่ง FSH ทำให้ไข่ไม่เจริญเติบโต
ผลต่อเยื่อบุโพรงมดลูก ทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกบางไม่เหมาะกับการฝังตัว
ผลต่อท่อนำไข่ E ทำให้ท่อนำไข่บีบตัวมากขึ้นไข่ที่ผสมแล้วเดินทางถึงโพรงมดลูกเร็วเกินไปไม่สามารถฝังตัวได้
อาการข้างเคียงจาก estrogen และ progestin ในยาเม็ดคุมกำเนิด
ภาวะ estrogen ขาด
เลือดออกระหว่างช่วงต้นหรือช่วงกลางรอบเดือน หลังจากรับประทานยาหมดแผงแล้ว เลือดประจำเดือนมาน้อยกระวนกระวาย
ภาวะ progestin เกิน
เพิ่มความอยากอาหาร น้ำหนักขึ้น สิว ขนดก ผิวมันหนังศีรษะมัน ซึมเศร้า เพลีย ผื่นคัน
ภาวะ estrogen เกิน
คลื่นไส้ ท้องอืด เป็นฝ้า ความดันโลหิตสูง ไมเกรน เลือดประจำเดือนมามาก น้ำหนักขึ้นตามรอบเดือนเนื่องจากบวมน้ำ หงุดหงิด มีตกขาวมาก กระจกตาบวม
ภาวะ progestin ขาด
เลือดออกระหว่างช่วงปลายรอบเดือน เลือดประจำเดือนมาช้า หลังจากรับประทานยาหมดแผงแล้ว เลือดประจำเดือนมามาก
วิธีใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด
เวลาที่รับประทานยาหลังอาหารเย็นหรือก่อนนอน แต่ควรเป็นเวลาเดียวกันทุกวัน
เริ่มรับประทานยาคุมกำเนิดเม็ดแรกในวันที่ 1-5 ของรอบเดือน (ชนิด 21 เม็ด) หรือวันที่ 1 ของรอบเดือน (ชนิด 28 เม็ด) ครั้งละ 1 เม็ด
ยาที่อาจลดประสิทธิภาพของยารับประทานคุมกำเนิด
Exthosuximide, Phenytoin, Rifampin, Rifabutin
Griseofulvin, Primidone, Metronidazole, Troglitazone
Carbamazepine, Phenobarbital, Topiramate
ยาที่อาจมีประสิทธิภาพลดลงเนื่องจากยารับประทานคุมกำเนิด
Clofibrate, Oxazepam, Temazepam, Lorazepam, Salicylates
ยาที่อาจมีฤทธิ์เพิ่มขึ้นเนื่องจากยารับประทานคุมกำเนิด
Benzodiazephines, Caffeine, Theophylline
Beta blockers, Corticosteroids, Tricyclic, antidepressants