Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาการ, ลำดับขั้นพัฒนาสติปัญญา, วรกานต์ ชำนาญฉา
…
ทฤษฎีพัฒนาการ
-
เพียเจท์
เป็นนักจิตวิทยาชาวสวิส เชื่อว่าพัฒนาการทางสติปัญญาในเด็กเกิดจากการสำรวจสิ่งแวดล้อม ทำให้มีการพัฒนาโครงสร้างสติปัญญา
-
-
ระยะพัฒนาการทางสติปัญญา
- ระยะประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ 0-2 ปี ผสมผสานประสบการณ์ทางการรับรู้สัมผัสและการเคลื่อนไหว
-
3.ระยะการคิดแบบปฏิบัติการด้วยรูปธรรม 7-11 ปี เด็กจะสามารถแก้ปัญหาด้วยเหตุผลมากขึ้น แต่ต้องเป็นสิ่งที่เห็นได้เป็นรูปธรรม เช่น เข้าใจ 25 สตางค์เท่ากับ 1 สลึง
4.ระยะปฏิบัติการแบบนามธรรม 11-15 ปี เริ่มคิดเหมือนผู้ใหญ่ สามารถตั้งสมมติฐานและทฤษฎี คิดรวบยอดนอกจากสิ่งที่ตาเห็น
บรูเนอร์
-
-
ทฤษฎีการเจริญเติบโตทางสติปัญญา
1.พัฒนาจากการตอบสนองสิ่งเร้า
2.ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่สั่งสมเรียนรู้
3.ความสามารถที่เพิ่มขึ้น
4.ขึ้นอยู่กับการปฏิสัมพันธ์ของผู้สอนกับผู้เรียน
5.พัฒนาได้โดยใช้สื่อภาษาแลกเปลี่ยน
6.การเพิ่มความสามารถโต้ตอบสิ่งเร้า
ฟรอยด์
-
- มีพื้นฐานทฤษฎีมาจากการรักษาคนไข้
ลำดับขั้นทฤษฎี
-
-
-
4.ระยะพัก 6-12 ปี ออกไปอยู่สังคมนอกบ้าน
พัฒนาการที่สำคัญคือ การปรับตัวทางสังคม เรียนรู้การอยู่ร่วมกับผู้อื่น
5.ความพึงพอใจในเพศตรงข้าม 13-20 ปี เข้าสู่ช่วงวัยรุ่น เริ่มสนใจเพศตรงข้าม หากได้รับโอกาสที่เหมาะสม มีอิสระเป็นของตนเอง ก็จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีบุคลิกภาพดี
-
อีริกสัน
การพัฒนาทางสังคม 8 ขั้น
1.ความไว้วางใจและไม่ไว้วางใจ 0-1 ปี เด็กต้องคอยพึ่งพาผู้อื่น หากได้รับการเลี่้ยงดูอย่างดี ก็จะคิดว่าโลกน่าอยู่ และน่าไว้วางใจ แต่หากได้รับการเลี่ยงดูที่ไม่เหมาะสมก็จะคิดว่าโลกนี้น่ากลัว ไม่ปลอดภัย
2.เป็นตัวของตัวเองและไม่มั่นใจในตัวเอง 2-3 ปี ปล่อยให้เด็กมีพัฒนาการของตัวเอง แต่ถ้าไม่ให้โอกาสเด็กก็จะขาดความมั่นใจ
3.คิดริเริ่ม-รู้สึกผิด 4-5 ปี การปล่อยให้มีอิสระเด็กจะสีการคิดการสำรวจ แต่ถ้าเข้มงวด ไม่เปิดโอกาสเด็กก็จะไม่กล้าคิดและรู้สึกผิดในการกระทำต่างๆ
4.ขยัน-ต้อยต่ำ 6-11 ปี หากไม่ได้รับความสนใจก็จะรู้สึกว่าตนเองต้อยต่ำ แต่ถ้าได้รับจากชมเชย ได้กำลังใจก็จะเป็นแรงผลักดันช่วยให้มีการพัฒนา
5.เป็นเอกลักษณ์-สับสนในบทบาท 12-18 ปี ป็นช่วงที่วิเคราะห์ตนเองได้ มีเป้าหมาย หากทำได้ก็จะแสดงออกได้อย่างถูกต้อง แต่ถ้าไม่ทราบก็จะไม่สามารถแสดงบทบาทตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
6.ความสนิทสนม-โดดเดี่ยว หลังผ่านขั้นที่ 5 ก็จะสามารถหาเอกลักษณ์ในตัวเองได้ เริ่มมีการแลกเปลี่ยนความรู้สึกกับเพื่อน แตถ้าหากไม่พบเอกลักษณ์ตอนเองก็จะไม่สามารถแบ่งปันความคิดกับผู้อื่นได้
7.ทำประโยชน์ต่อสังคม-คิดถึงแต่ตัวเอง รู้ดีว่าเอกลักษณ์ของตนเป็นอย่างไร สามารถสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ พร้อมทำประโยชน์ต่อสังคม และตรงกันข้ามคือเบื่อหน่ายชีวิต และจะคิดถึงแต่ตัวเอง
8.บูรณภาพ-สิ้นหวัง วัยชรา หากผ่านทุกขั้นมาได้ด้วยดีก็จะพอใจในชีวิต แต่ถ้าผ่านมาอย่างไม่เหมาะสมก็จะไม่สามารถยอมรับสภาพความเปนอยู่ของตน สิ้นหวัง และเสียดายเวลาที่ผ่านมา
โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม
ระดับที่1 ก่อนเกณฑ์สังคม พิจารณาถูกผิดจากผลที่ตามมา
- การลงโทษ ฟังสิ่งที่พ่อแมสั่งสอนเพื่อเลี่ยงการถูกลงโษ
2.การได้รับรางวัล ทำตามที่พ่อแม่สั่งสอนเพื่อได้รับรางวัล
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์สังคม
5.การมีสัญญาสังคม ทำตามที่ส่วนใหญ่เห็นพ้อง
6.การกระทำอาศัยคุณธรรม เห็นการปฏิบัติตามจิตสำนึกตนเองมากกว่าตามกฎหมาย
-
ลำดับขั้นพัฒนาสติปัญญา
1.ขั้นเรียนรู้จากการกระทำ แรกเกิด-2 ปี แสดงออกทางกริยากรรม
บอกความต้องการ ดวยการกำมือ แบมือ
2.ขั้นเรียนรู้จากความคิด 2-4 ปี มองโลกในแง่ของตน
ความคิดตายตัว เอาตนเป็นศูนย์กลาง ต้องมีการชี้แนะที่แน่นอน
3.ขั้นเรียนรู้สัญลักษณ์และนาธรรม เเยกลักษณะตัวเลือกได้รวดเร็ว
ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการคิด
-
-
-