Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pt.ชายไทย อายุ 61 ปี, 30119272 - Coggle Diagram
Pt.ชายไทย อายุ 61 ปี
Dx : Cobra bite and Infected Wound
Primary Assesment
C : Circulation PR : 90 BPM , BP : 140/90 mmHg , มีแผลบริเวณน่องขาขวามีรอยเขี้ยว 2 เขี้ยว รอบๆแผลบวม เขียวคล้ำ ไม่มี Bleeding ไม่มี sign ภาวะ shock
D : Disability รู้สึกตัวดีบอกวันเวลา สถานที่ได้ ทำตามสั่งได้ ยกแขนขาได้ E4V5M6 Pupill 2 mm
B : Breathing RR : 18-20 BPM O2 sat = 94% ไม่มีภาวะ hypoxemia
E : Exposure มีแผลบริเวณน่องขวา มีรอยเขี้ยว 2 เขี้ยว อุณหภูมิ 37.1 C ไม่มีภาวะ hypothermia
A : Airway ผู้ป่วยสามารถพูดได้ ไม่มีการอุดกันทางเดินหายใจ (airway obstruction)
TRIAGE
ESI 2 เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการง่วงซึม จากพิษของงู
ผู้ป่วยโดนงูเห่ากัด ( มีพิษต่อระบบประสาท)
มีอาการหนังตาตก ง่วงซึม
ส่วนประกอบของพิษ
Neurotoxin
มีฤทธิ์ต่อระบบประสาท ออกฤทธิ์ที่ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนปลาย และจุดที่มีการส่งผ่านกระแสประสาทกับกล้ามเนื้อ
โดยไปขัดขวางการส่งผ่านกระแสประสาทที่จุดที่มีการส่งผ่านกระแสประสาทกับกล้ามเนื้อ
แบ่งเป็น 2 ชนิดตามคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาเป็น presynaptic and neurotoxin ตามตำแหน่งที่ออกฤทธิ์ต่อ motor end plate
1 more item...
Cytoxin
ออกฤทธิ์ที่บริเวณที่ถูกงูเห่ากัด
ทำให้บริเวณที่ถูกงูกัดปวดบวมและเน่าได้
ผู้ป่วยมีแผลบวมเขียวคล้ำ ปวด Pain score 7-8 คะแนน
5 more items...
เซรุ่มต้านพิษงู (Cobra antivenin)
ข้อวินิจฉัย เสี่ยงต่อภาวะแพ้สารต้านพิษงู
การบำบัดด้วยการให้เซรุ่มต้านพิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเห่า (Cobra antivenin) ขนาดยา 100ml (10 vial) IV drip ภายใน 30-60 นาที สามารถให้ซ้ำได้อีกทุก 12 ชม. โดยประเมินจากสภาวะผู้ป่วย
บทความวิจัย : บทบาทพยาบาลกับการรักษาขั้นต้นและการดูแลต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยที่ถูกงูพิษกัด (ชัชวาล, 2018.)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเซรุ่มต้านพิษงู
ประเมินอาการโดยรวมของผู้ป่วย พร้อมแจ้งแผนการรักษาแก่ผู้ป่วย ให้ความรู้เกี่ยวกับเซรุ่มต้านพิษงูแก่ผู้ป่วยและญาติทราบ
การบริหารเซรุ่มโดยทั่วไปเซรุ่มเป็นผงในบรรจุภัณฑ์จะมาเป็นแพคเกจ ตามแผนการรักษา สำหรับผู้ป่วยที่ถูกงูที่มีพิษต่อระบบประสาทกัด เช่น งูเห่า แพทย์จะเริ่มต้นการรักษาด้วยเซรุ่มที่ขนาด 100 มิลลิกรัม เริ่มต้นรักษาด้วยเซรุ่มที่ขนาด 50 มิลลิกรัม สามารถให้ต่อเนื่อง 12 ชั่วโมงตามอาการ หรือซ้ำใน 1-2 ชั่วโมงหากประเมินพบว่าอาการทางระบบประสาทแย่ลง
การผสมเซรุ่มสามารถใช้ตัวทำละลายชนิด 0.9% NSS หรือ 5% DW โดยละลายให้เจือจางในตัวทำละลายจำนวน 100-200 มิลลิลิตร/โดส สิ่งที่ต้องตระหนักคือขณะละลายเซรุ่มควรคลึงขวดเซรุ่มเบาๆ ห้ามเขย่าเด็ดขาดเพราะจะทำให้อิมมูโกลลูลินชนิด จี (IgG) เกาะกลุ่มกันแล้วตกตะกอนละลายได้ไม่หมด เมื่อเซรุ่มเข้าไปในร่างกายผู้ป่วยจะเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดการแพ้เซรุ่มตามมาได้
ขณะให้เซรุ่มควรใช้ Infusion pump ควบคุมอัตราการไหลของเซรุ่มในอัตราเร็วไม่เกิน 2 มิลลิลิตร/นาที และบริหารเซรุ่มเข้าหลอดเลือดดำให้หมดในเวลา 30-60 นาที ระหว่างการให้เซรุ่มควรประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที
ควรประเมินค้นหาอาการแพ้เซรุ่ม โดยการแพ้เซรุ่มจะแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรกผู้ป่วยจะมีอาการผื่นลมพิษ หน้าบวม หายใจไม่สะดวก และการแพ้ระยะหลังที่พบจะไม่รุนแรงเหมือนการแพ้ระยะแรกอาการที่พบบ่อยได้แก่ ไข้ ปวดข้อ ผื่นตามร่างกาย
1 more item...
บทความวิจัย :Wound Infections from Taiwan Cobra (Naja atra) Bites (Heng Yeh, 2021)
The Role of Antivenom in Preventing the Development of Cobra Bites Wound Infection
Antivenom is the fundamental treatment of cobra snakebites. Most of the cobra bites patients receive antivenom for the consequence of cobra bites of neurological or local limbs swelling. Antivenom itself is sufficient to treat the least severe cobra-envenomated patients,and there are no further complications.
CC : โดนงูไม่ทราบชนิดกัด หน้าตาตก ง่วงนอน มา 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล ขณะเดินในสวนยางพารา โดนงูไม่ทราบชนิดกัดบริเวณน่องขวา มีรอยเขี้ยว 2 เขี้ยว ปวดแผล หนังตาตก บ่นง่วงนอน ญาตินำส่งโรงพยาบาล