Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมศึกษา 5 สาระ - Coggle Diagram
สังคมศึกษา 5 สาระ
4. ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ไทย
ยุคสมัย
ก่อนประวัติศาสตร์
ยุคหินใหม่
ยุคโลหะ
ยุคหินเก่า
ประวัติศาสตร์
อยุธยา
ธนบุรี
สุโขทัย
รัตนโกสินทร์
ยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ตอนต้น
ประวัติศาสตร์สากล
ตะวันออก
ก่อนประวัติศาสตร์
ยุคทองแดง
ยุคสำริด
ยุคหินใหม่
ยุคเหล็ก
ยุคหินเก่า
ประวัติศาสตร์
สมัยกลาง
สมัยใหม่
สมัยโบราณ
สมัยปัจจุบัน
ตะวันตก
จีน
อินเดีย
1. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนาคริสต์
จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
: การไปอยู่ในอาณาจักรพระเจ้า
สัญลักษณ์ศาสนา
: ไม้กางเขน
วันสำคัญ
2.วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์
- พระเยซุสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน
3.วันอีสเตอร์
- พระเยซูฟื้นคืนชีพ
1.วันคริสต์มาส
(25 ธันวา) - พระเยซูประสูติ
ศาสดา
: พระเยซู
คัมภีร์ไบเบิล
1.พันธสัญญาเดิม
- เหตุการณ์ก่อนพระเยซูประสูติ
2.พันธสัญญาใหม่
- เหตุการณ์หลังพระเยซูประสูติ
นิกาย
2.ออร์ธอดอกซ์
- แยกออกจากคาทอลิกด้วยเหตุผลทางการเมืองและวัฒนธรรม ไม่ยอมรับพระสันตปาปา แต่มีแพทริอาร์คเป็นประมุขสูงสุดแทน ไม่เชื่อเเดนชำระบาป นับถือพระแม่มารี นักบุญต่างๆ และนับถือศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ นักบวชแต่งงานได้ แต่บาทหลวงแต่งงานไม่ได้
3.โปรเตสแตนท์
(คริสเตียน) - เกิดขึ้นโดย มาร์ติน ลูเธอร์ ไม่เชื่อพระสันตปาปา ไม่เชื่อแดนชำระบาป ไม่นับถือพระแม่มารีและนักบุญต่างๆ นับถือศีลศักดิ์สิทธิ์เพียง 2 ข้อ คือ ศีลล้างบาป และศีลมหาสนิท ไม่มีนักบวช มีแต่ผู้สอนศาสนา
1.โรมันคาทอลิก
(คริสตัง) - มีผู้นับถือมากสุดในโลก พระสันตปาปา เป็นประมุขสูงสุด เชื่อในแดนชำระบาป นับถือพระเเม่มารี นักบุญต่างๆ และนับถือศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ นักบวชแต่งงานไม่ได้
ศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ
4.ศีลแก้บาป - สารภาพบาป
5.ศีลเจิมคนไข้ - ให้กำลังใจผู้ป่วยหนัก
3.ศีลมหาสนิท - สำคัญสุด รับประทานขนมปังกับเหล้าองุ่น
6.ศีลบวช - บวช
2.ศีลกำลัง - ยืนยันว่า้เป็นศาสนิกชน
7.ศีลสมรส - พิธีแต่งงาน
1.ศีลล้างบาป - ศีลที่รับเป็นศีลแรก เพื่อล้างบาปกำเนิด
หลักตรีเอกานุภาพ
1.พระบิดา - พระยะโฮวาห์
2.พระบุตร - พระเยซู
3.พระจิต - วิญญาณบริสุทธิ์ในจิตใจมนุษย์
หลักความรัก
- คำสอนที่สำคัญที่สุดของศาสนาคริสต์
ปฐมเทศนาของพระเยซู
คือ คำเทศนาบนภูเขา
บัญญัติ 10 ประการ
5.อย่าฆ่าคน
3.อย่าลืมฉลองวันพระเจ้าเป็นวันศักดิ์สิทธิ์
6.อย่าทำลามก
7.อย่าลักขโมย
2.อย่าออกนามพระเจ้าโดยไม่มีเหตุอันสมควร
4.จงนับถือบิดามารดา
1.จงนมัสการพระผู้เป็นเจ้าพระองค์เดียว
8.อย่าใส่ความนินทาผู้อื่น
9.อย่าผิดประเวณี
10.อย่าคิดโลภในทรัพย์ของผู้อื่น
ศาสนาอิสลาม
ไม่มีนักบวช
คัมภีร์
อัลกุรอาน - พระวจนะของพระอัลเลาะห์
อัลฮะดีษ - บันทึกคำสอนของนบีมูฮัมหมัดและบทอธิบายคัมภีร์อัลกุรอาน
จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
: การไปอยู่กับพระเจ้าชั่วนิรันดร์
หลักศรัทธา 6
1.ศรัทธาในพระอัลเลาะห์
2.ศรัทธาในมลาอิกะห์(ทูตสวรรค์)
3.ศรัทธาในศาสนทูตหรือศาสดา
4.ศรัทธาในพระคัมภีร์
5.ศรัทธาในวันพิพากษา
6.ศรัทธาในพระลิขิต
สัญลักษณ์ศาสนา
: พระจันทร์ครึ่งเสี้ยวกับดาว
หลักปฏิบัติ 5
3.การถือศีลอด
4.การบริจาคซะกาต
2.การละหมาด
5.การทำพิธีฮัจญ์
1.การปฏิญาณตน
ศาสดา
: นบีมูฮัมหมัด
ศาสนาพุทธ
สัญลักษณ์ศาสนา
: ธรรมจักร
จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
: การหลุดพ้นจากวัฏสงสารและเข้าสู่นิพพาน
ศาสดา
: พระพุทธเจ้า
พุทธประวัติของพระพุทธเจ้า
ประสูติ
(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) : เจ้าชายสิทธัตถะ โอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริ- มหามายา ประสูติใต้ต้นสาละ สวนลุมพินีวัน
ออกผนวช
: เห็นเทวทูต 4 ได้แก่ คนแก่คนเจ็บ คนตายและนักบวช
จึงเกิดความสังเวชในความไม่แน่นอนของชีวิตและเลื่อมใสในความสงบเยือกเย็นของนักบวชจึงออกผนวช ขณะมีพระชนมายุ 29 พรรษา
ตรัสรู้
(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6): ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา แต่ไม่พบหนทางพ้นทุกข์
จึงล้มเลิก(ทำให้ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ทิ้งพระองค์ไป) หลังจากนั้นพระองค์จึงหันมาใช้ทางสายกลาง(มัชฌิมาปฏิปทา) และตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ปฐมเทศนา
(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) : แสดง "ธัมมจักรกัปปวัตนสูตร" แก่ปัญจวัคคีย์ ทั้ง 5 พระอัญญาโกณฑัญญะได้บรรลุเป็นพระโสดาบัน เป็นภิกษุรูปแรกของศาสนาพุทธ
ปรินิพพาน
(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) : ใต้ต้นสาละ สาลวโนทยาน
เมืองกุสินารา สุภัททะ เป็นสาวกคนสุดท้าย และได้ทรงแสดงปัจฉิมโอวาท คือ อัปปมาทธรรม ทรงปรินิพพานขณะมีพระชนมายุ 80 พรรษา
พระไตรปิฎก
2.พระสุตตันตปิฎก - พระธรรมเทศนาทั่วไป
3.พระอภิธรรมปิฎก - ธรรมล้วนๆ หรือธรรมสำคัญ
1.พระวินัยปิฎก -วินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี
ทศชาติชาดก
6.ภูริทัตชาดก
7.จันทกุมารชาดก
5.มโหสถชาดก
8.นารทชาดก
4.เนมิราชชาดก
9.วิทูรชาดก
3.สุวรรณสามชาดก
10.เวสสันดรชาดก
2.มหาชนกชาดก
1.เตมียชาดก
หลักธรรม
อริยสัจ 4
(หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงเป็นครั้งแรก)
สมุทัย
(เหตุแห่งทุกข์) - ธรรมที่ควรละ เช่น ตัณหา 3, นิวรณ์ 5
นิโรธ
(การดับทุกข์) - ธรรมที่ควรบรรลุ เช่น นิพพาน, ภาวนา 4
ทุกข์
(การมีอยู่ของทุกข์) - ธรรมที่ควรรู้ เช่น ไตรลักษณ์, ขันธ์ 5
มรรค
(หนทางแห่งการดับทุกข์) - ธรรมที่ควรเจริญ เช่น เบญจศีล, เบญจธรรม, มงคล 38
โอวาท 3
(หัวใจของพระพุทธศาสนา) - ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
4.วันอัฏฐมีบูชา(แรม 8 ค่ำ เดือน 6) - วันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ
5.วันเข้าพรรษา(แรม 1 ค่ำ เดือน 8) - พระสงฆ์จำพรรษาที่วัด 3 เดือน
3.วันอาสาฬหบูชา(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) - พระรัตนตรัยครบองค์ 3
6.วันออกพรรษา(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) - วันมหาปวารณา
2.วันมาฆบูชา(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) - วันจาตุรงคสันนิบาต
7.วันเทโวโรหณะ(แรม 1 ค่ำ เดือน 11) - ทำหลังออกพรรษา 1 วัน
1.วันวิสาขบูชา(ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6) - ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
8.วันพระ(ขึ้น 8 ค่ำ, แรม 8 ค่ำ, ขึ้น 15 ค่ำ, แรม 15 ค่ำ)
พิธีกรรม
นิกายเถรวาท
กุศลพิธี
เช่น เวียนเทียน
บุญพิธี
งานมงคล เช่น ทำบุญขึ้นบ้านใหม่
งานอวมงคล เช่น สวดอภิธรรมศพ
ทานพิธี
เช่น ถวายสังฆทาน
ปกิณกพิธี
(พิธีเบ็ดเตล็ด) เช่น กรวดน้ำ
นิกายมหายาน
ตรุษจีน กินเจ กงเต็ก
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
: การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
ระบบวรรณะ
แพศย์ - พ่อค้า
ศูทร - ผู้ใช้แรงงาน(รับใช้ 3 วรรณะบน)
กษัตริย์ - ปกครองประเทศ
จัณฑาล - ไม่นับเป็นวรรณะ ทำงานชั้นต่ำ
พราหมณ์ - ประกอบพิธีทางศาสนา สอนศาสนา
สัญลักษณ์ศาสนา
: โอม
คัมภีร์
2.ยชุรเวท - สวดบวงสรวง บูชายัญ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ
3.สามเวท - บทสวดขับกล่อมเทพเจ้า
1.ฤคเวท - เก่าแก่สุด ใช้สวดสรรเสริญพระเจ้า
4.อาถรรพเวท - สวดเกี่ยวกับเวทมนตร์ คาถาอาคม
ไม่มีศาสดา
พิธีสังสการ
- ทำเฉพาะคนวรรณะกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์
พิธีศราทธ์
- ทำบุญให้บรรพบุรุษ
หลักธรรมสำคัญ
อาศรม 4
ปุรุษารถะ 4
หลักธรรม 10 ประการ
หลักปรมาตมัน-อาตมัน-โมกษะ
2. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต
สังคมวิทยา
โครงสร้างสังคม
สถาบันทางสังคม
ศาสนา - เกิดขึ้นเพื่อส่งเสริมจิคใจ
การศึกษา - เป็นสถาบันที่ทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้า
เศรษฐกิจ - เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิก
ครอบครัว - เป็นสถาบันพื้นฐาน
การเมืองการปกครอง - ตอบสนองความต้องการทางด้านความมั่นคงและปลอดภัยในสังคม
การจัดระเบียบสังคม
ค่านิยม - ความคิดที่สมาชิกส่วนใหญ่ของสังคมเห็นว่าดี
บรรทัดฐาน - กฎเกณฑ์ แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกในสังคมยอมรับ
การควบคุมทางสังคม
กระบวนการในการควบคุมให้ปฏิบัติตนตามบรรทัดฐาน
การควบคุมเชิงบวก - การควบคุมโดบใช้แรงจูงใจบางอย่าง
การควบคุมเชิงลบ - การควบคุมโดยการลงโทษ
สถานภาพและบทบาท
สถานภาพ
ตำแหน่งหรือฐานะของสมาชิกซึ่งเกิดจากความสัมพันธ์ในสังคม
สถานภาพที่ได้มาแต่กำเนิด
สถานภาพที่ได้มาภายหลัง
บทบาท
หน้าที่และความรับผิดชอบของสมาชิกตามสถานภาพ
การขัดเกลาทางสังคม
กระบวนการในการถ่ายทอดแบบแผนพฤติกรรม วัฒนธรรม และบรรทัดฐานให้สมาชิกในสังคม
การขัดเกลาทางสังคมโดยตรง
การขัดเกลาทางสังคมโดยอ้อม
กลุ่มสังคม
กลุ่มปฐมภูมิ - กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์แบบส่วนตัวใกล้ชิดกัน
กลุ่มทุติยภูมิ - กลุ่มที่มีความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ
สังคมไทย
ลักษณะของสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบ
การเปลี่ยนแปลงด้านความสัมพันธ์
วัฒนธรรมไทย
ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นประจำภาค
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย
การเปลี่ยนแปลงของคนในสังคม
การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมระหว่างสังคม
รัฐศาสตร์
รัฐ
รัฐเดี่ยว
รัฐรวม
ระบอบประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยทางตรง
ประชาธิปไตยทางอ้อม
ระบอบเผด็จการ
เผด็จการทหาร
เผด็จการฟาสซิสต์
เผด็จการคอมมิวนิสต์
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
นิติศาสตร์
กฎหมายที่แบ่งตามความสัมพันธ์ของคู่กรณี
กฎหมายเอกชน
กฎหมายมหาชน
กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งตามหน้าที่และวิธีใช้
กฎหมายสาสรบัญญัติ
กฎหมายสบัญญัติ
กฎหมายที่แบ่งตามสภาพบังคับ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายอาญา
3. เศรษฐศาสตร์
บิดาแห่งเศรษศาสตร์มหภาค - จอห์น เมย์นาด เดนส์
บิดาแห่งเศรษศาสตร์จุลภาค - อัลเฟรด มาร์แชล
บิดาแห่งเศรษศาสตร์ - อดัม สมิธ
การผลิต
ปัจจัยการผลิต
ที่ดิน
ทุน
ผู้ประกอบการ
แรงงาน
กลไกตลาด
อุปสงค์และอุปทาน
ภาวะดุลยภาพ
ระบบเศรษฐกิจ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีเหตุผล
ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
พอประมาณ
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
สหกรณ์
สหกรณแห่งแรก - สหกรณ์รอชเดล
ประเภท
สหกรณ์ภาคการเกษตร
สหกรณ์นอกภาคการเกษตร
การเงิน
ธนบัตร
เหรียญกษาปณ์
เงินฝาก
เงินเฟ้อ
เงินฝืด
การคลัง
งบประมาณแผ่นดิน
หนี้สาธารณะ หรือ หนี้รัฐบาล
ตราสารการเงินระยะสั้น
ตราสารการเงินระยะยาว
รายจ่ายของรัฐบาล
นโยบายเศรษฐกิจ
นโยบายการเงิน
นโยบายการคลัง
รายรับของรัฐบาล
เงินคงคลัง
เงินกู้
รายได้ของรัฐ
การขายสิ่งของและบริการ
รัฐพาณิชย์
ภาษีอากร
ภาษีทางอ้อม
ภาษีสินค้าเข้าออก
ภาษีทางตรง
ภาษีลักษณะอนุญาต
รายได้อื่นๆ
การธนาคาร
ธนาคารกลาง หรือ ธนาคารแห่งประเทศไทย
ธนาคารพาณิชย์
ธนาคารพิเศษ
สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การเงินระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
แบบคงที่
แบบลอยตัว
การค้าระหว่างประเทศ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ตลาดร่วม
สหภาพเศรษฐกิจ
สหภาพศุลกากร
องค์กรเหนือชาติ
เขตการค้าเสรี
5. ภูมิศาสตร์
ละติจูดและลองจิจูด
ภูมิเทศ
ปรากฎการณ์จากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลก
สุริยุปราคา
จันทรุปราคา
น้ำเป็น-น้ำตาย
น้ำขึ้น-น้ำลง
ภูมิอากาศ
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
GPS
RS
GIS
ทรัพยากรธรรมชาติ
แผนที่
องค์ประกอบของแผนที่
มาตราส่วนแผนที่
ประเภทของแผนที่
แผนที่ภูมิประเทศ
แผนที่เฉพาะเรื่อง
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ภูเขาไฟ
แผ่นดินถล่ม
อุทกภัย
สึนามิ
พายุ
แผ่นดินไหว