Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ยานอนหลับและยาคลายกังวล
Hypnotic Drugs and anxiolytics
Histamine Antagonists มี 4 ชนิด คือ H1, H2, H3 และ H4
Histamine ในระบบประสาทส่วนกลางท่ีเกี่ยวกบั การนอนไม่
หลบั คือ H1 receptor ใช้ antihistamines เป็นทางเลือกอนัดบัแรกในการรกัษา อาการนอนไม่หลับ
diphenhydramine
กลไกการออกฤทธิ์ ต่อต้าน histamine ที่ตัวรับ H1 histamine
ดูดซึมได้ดีในระบบทางเดิน ดูดซึมได้ 42-62% ความเข้มข้นในพลาสมา 1-4 ชั่วโมง
ขับถ่ายผ่านทางปัสสาวะ การกำจัดค่าครึ่งชีวิต 24-9.3 ชั่วโมง
อาการไม่พึงประสงค์ : ความผิดปกติของระบบปรสาท ซึม ง่วงนอน เวียนศีรษะ ใจเต้นเร็วในเด็ก เยื่อบุจมูกแห้ง คอแห้ง มีเสมหะ
ข้อควร ในผู้ป่วยที่เป็นต่อหิน ต่อมลูกหมากโต หรือการอุดตันของอวัยวะสืบพันธ์
ข้อห้าม : มารดาที่ให้นมบุตร ทารกคลอดก่อนกำหนดและทารกแรกเกิด
hydroxyzine
doxylamine
Tricyclic antidepressants
มีฤทธิ์เป็น antidepressant และ H1-receptor blocker แต่ไม่มีฤทธิ์ anticholinergic effect
mirtazapine
ยาทาให้โครงสร้างการนอนและประสิทธิผลของ การนอนดีขึ้น โดยไม่มีผลต่อวงจรการนอนหลับ จึงใช้ได้ในผู้สูงอายุที่มีอาการซึมเศร้าร่วมด้วย นอกจากนี้ผลข้างเคียงของ ยายังทำให้น้ำหนักตัว เพิ่มขึ้นได้
tetracyclic antidepressant
FDA ไม่ขึ้นทะเบียนใช้สำหรับรักษา insomnia แต่
นำมาใช้ในทางปฏิบ้ติบ้างเพราะฤทธิ์ทาง H1 antagonist
amitriptyline
5 -HT2A/2C1 receptor antagonist
•Trazodoneในขนาดต่ำจับกับ H1 receptors และไม่มี anticholinergic side effect เช่นเดียวกัน
ผลข้างเคียงที่พบบ่อย คือ เป็นลมเนื่องจากความดันเปลี่ยนแปลงขณะเปลี่ยนท่า (orthostatic hypotension) หรือวิงเวียนศีรษะ (จับกับ peripheral alpha1-receptor ) และภาวะองคชาติแข็งค้าง (priapism)
GABA Agonists
GABA จับตรงรอยเชื่อมต่อระหว่าง α และ βsubunits
BZRAs ที่จับกับ GABAA receptors ที่ประกอบด้วย α1 subunit จึงช่วยให้เกิดการสงบระงับช่วยให้หลับและต้าน
การชักบางอย่างได้และอาจทำให้มีอาการหลงลืม
ถ้ายาในกล่มุ benzodiazepines จับกับ GABAA receptors เป็นระยะเวลานานจะเกิดการเปลี่ยนรูปร่างของตัวรับ (allosterical) เป็นผลให้เกิดการทนยาไม่ได้ หรือเกิดอาการถอนยาหรือติดยาตามมาได้
Benzodiazepine receptor agonists (BZRAs)
ยาจะลงท้ายด้วย lam pam
ยาที่มีค่าครึ่งชีวิตนานจะทำให้เกิดอาการง่วงซึมได้ในเวลากลางวัน แม้ว่าจะให้ขนาดต่ำๆ
มีผลกดการทางานต่อระบบการหายใจ ทำให้เกิดช่วงเวลาของการหยุดหายใจนานและมากครั้งขึ้น ในผู้ป่วยที่เป็นโรค sleep apnea ดังนั้นจึงไม่ ควรใช้ยากลุ่มนี้กับผู้ป่วยโรค sleep apnea และโรค chronic obstructive pulmonary disease (COPD)
Nonspecific benzodiazepine-receptor agonists
คลายความวิตกกังวล
สงบระงับต้านการชัก คลายกล้ามเนื้อ มีแนวโน้มติดแอลกอฮอล์ เปลี่ยนแปลง โครงสร้างการนอนหลับ และเป็นไปได้ที่จะมีผลต่อการรับรู้
Nonbenzodiazepines
zolpidem และ zaleplon FDA ขึ้นทะเบียนใช้เป็นยานอนหลับ
จับกับ α1 subunit ของ GABAA receptor อย่าง จำเพาะเจาะจงจึงมีผลด้าน สงบระงับ และจำกัดผล
ทางเภสัช วิทยาอื่นๆ มีความเสี่ยงน้อยท่ีจะเกิด การ
ติดยาและทนยาไม่ได้
Nonbenzodiazepines จับกับ GABAAreceptor จะ
ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของตัวรับ ดังนั้นผลข้างเคียงจึงไม่เกิดเหมือนยาในกลุ่ม benzodiazepines เมื่อใช้เป็นระยะเวลานาน
Melatonin Receptor Agonists
Melatonin เก่ียวข้องกับ การควบคุม circadian rhythm รวมถึง sleep-wake cycle แต่กลไกการทำงานท่ีแท้จริงยังไม่ ทราบในอดีต melatonin เคยใช้ในการรักษาภาวะการรบกวนการนอนเนื่องจากเปลี่ยนเวลาการทางานหรือจากการเดินทาง (jetlag)
ตัวรับ 3 ตัวคือ MT1,MT2 และ MT3 ทั้ง MT1 และ MT2 เกี่ยวข้องกับการนอน ขณะที่ MT3 มีความเกี่ยวข้องกับ Sleep-wake cycle แต่ยังไม่แน่ชัด
Ramelteon เป็น selective MT1 และ MT2 receptors agonist ที่มี affinity มากกว่า melatonin 3-16 เท่า แต่ไม่มี affinity กับ MT3
Melatonin สาหรับโรคนอนไม่หลับ คือ 1 ถึง 5 mg รับประทาน 1-2 ชั่วโมงก่อนนอน
Miscellaneous
Monitoring Parameters : vital signs, oxygen saturation, and BP.
ยารกัษาอาการซึมเศร้า
Antidepressant drugs
โรคซึมเศร้า
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
ความเครียด
การสูญเสีย
สงคราม
ไม่ออกกำลังกาย
ไม่ได้นับการสนับสนุนจากครอบครัว
ความเจ็บป่วยและโรคร่วม
ยาเหนี่ยวนำ เช่น isotretinoin
ปัจจัยทางพันธุกรรม
ความแปรผันเกี่ยวกับยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคซึมเศร้า เช่น BDNF, 5-HTT
Tricyclic antidepressants (TCAs)
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับของ 5-HT และ NE
TCAs ยังมีฤทธิ์ยับยั้งตัวรับต่าง ๆ เช่น M1 H1 และ α1 receptor
เกิดอาไม่พึงประสงค์ค่อนข้างมาก และการใช้ TCAs เป็นยาต้านซึมเศร้าต้องใช้ขนาดยาสูงปัจจุบันจึงไม่เป็นที่นิยมในการรักษาโรคซึมเศร้า
Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs)
ได้แก่ fluoxetine,paroxetine, fluvoxamine, sertraline และ escitalopram
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับของ 5-HT โดยมีฤทธิ์ต่อตัวรับ อื่นน้อย จึงมีอาการไม่พึงประสงค์ต่ำกว่า TCAs และเป็นกลุ่ม ยาที่นิยมใช้
Serotonin and norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs)
ได้แก่venlafaxine,duloxetine,milnacipranและ desvenlafaxine
ยับยั้งการเก็บกลับของ 5-HT และ NE โดยไม่มีผลต่อตัวรับ ชนิดอื่นจึงมีอาการไม่พึงประสงค์ต่ำกว่า TCAs
Serotonin antagonist and reuptake inhibitors (SARIs)
ได้แก่ trazodone
มีฤทธิ์ยับยั้งตวัวนับ α1 จึงต้องระวังความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนท่า
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับ ของ 5-HT เพื่อให้มีปริมาณ
5-HT ที่สูงไปกระตุ้นตัวรับ 5-HT1A เพื่อออกฤทธิ์เป็นยาต้านซึมเศร้า
ยังมี ฤทธิ์ยับยั้งตัวรับ 5-HT2A มีผลลดอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการกระตุ้นตัวรับ 5HT2A เช่น ภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ
Norepinephrine and dopamine reuptake inhibitors (NDRIs)
ได้เเก่ Bupropion
ออกฤทธิ์ยับยั้งการเก็บกลับ DA และ NE ดังนั้นยาชนิดนี้จึงไม่
เกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับ 5-HT
ออกฤทธิ์ของยาในการเพิ่ม DA ที่ brain reward pathway จึงใช้เป็นยาช่วยเลิกบุหรี่ได้
อาการไม่พึงประสงค์ของยาต้านซึมเศร้า
TCAs
ฤทธิ์ยับยั้งตัวรับ M1 คือ ปากแห้ง ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง หัวใจเต้นเร็วและเกิดอาการ ง่วง มึน และส่งผลเสียต่อความจำ ควรระวังการใช้ยากับผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม
การใช้ยาในขนาดสูง อาจเสี่ยงต่อภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ TCAs ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
SSRIs
เป็นยาค่อนข้างปลอดภัย
ฤทธิ์จาก 5-HT ต่อตัวรับชนิดต่างๆ ทั่วร่างกาย
อาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อย เช่น คลื่นไส้อาเจียนปวดศีรษะนอนไม่หลับความผิดปกติทางเพศ (sexual dysfunction) เช่น อารมณ์ทางเพศลดลง หย่อน สมรรถภาพทางเพศ น้ำหนักลด
กรณีใช้ในผู้ป่วยสูงอายุอาจต้องระวังภาวะโซเดียมใน เลือดต่ำ (hyponatremia)
SNRIs
ยามีผลเพิ่ม 5-HT เช่นเดียวกับ SSRIs จึงมีอาการไม่พึง ประสงค์คล้ายคลึงกับที่พบจากการใช้ SSRIs
มีผลเพิ่ม NE ด้วยจึงอาจเกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว และ
ความดันโลหิตสูงได้ โดยเฉพาะการใช้ venlafaxine ใน ขนาดยาสูง (>225mg/day) จึงควรระวังการใช้ยาใน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงท่ีไม่สามารถคุมความดันโลหิตได้
Trazodone
มีฤทธิ์ยับยั้ง ตัวรับ H1 แรง จึงทำให้เกิดอาการง่วงนอน
นิยมใช้ขนาดต่ำ (25-100mg/day) เป็นยาช่วยหลับ (sedative effect) ในผู้ป่วยท่ีมีปัญหานอนไม่หลับ
Adverse drug reactions
Mirtazapine
ปากแห้ง น้ำหนักเพิ่ม ง่วงนอน แต่ยาในขยาดสูง ขึ้นจะทำให้อาการง่วง นอนลดลงจากการเพิ่มฤทธิ์ของ NE
ยาในขนาดยาสูงขึ้นจะทำให้อาการง่วงนอนลดลงจากการเพิ่มฤทธิ์ของ NE
Bupropion
ปวดศีรษะนอนไม่หลบั ปากแห้งและยงัอาจส่งผลเพิ่มความดนั โลหิตจากการเพิ่ม NE
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยโรคลมชักเนื่องจากมีผลลด seizure threshold
Agomelatine
ปวดศีรษะ เวียนหัว ง่วงนอน
Vortioxetine
คลื่นไส้ความรุนแรงในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง
อันตรกิริยาของยาต้านซึมเศร้า
อาการแสดงของ serotonin syndrome
การเปลี่ยนแปลงทางสภาวะจิต (alteration of mental status) เช่น สับสน วุ่นวาย
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic hyperactivity) เช่น อุณหภูมิร่างกายสูง
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว ความดันโลหิตสูง เหงื่อออก
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทกล้ามเนื้อ (neuromuscular hyperactivity) เช่น มือสั่นแข็ง เกร็งกระตุก
ยากระต้นุ ระบบประสาทส่วนกลาง
Central nervous system stimulants
Methylphenidete
กลไกการออกฤทธิ์
In ADHD and narcolepsy is not known but presumably.
สารกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบกระตุ้นของก้านสมองและเยื้อหุ้มสมอง บล็อกการนำ NE และ DA กลับสู่ presynaptic เซลล์ประสาทจึงเพิ่มความเข้มข้นของ monoamines ของส่วนนอกระบบประสาท
เภสัชจลนศาสตร์
การดูดซึมแตกต่างกันไปแต่ละตัวยา
การขับถ่าย
ขับถ่ายของไต 78% ถึง 97%
ขับถ่ายของอุจจาระ 1% ถึง 3%
ผลข้างเคียง
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อาหารไม่ย่อย ปากแห้ง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อัตราหัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น หัวใจเสียจังหวะ ความดันเลือกเปลี่ยนแปลง ไอ จมูกและคอ อักเสบ กล้ามเนื้อกระตุก
คำเตือนและข้อควรระวังอื่นๆ หากใช้ยานี้รักษาระยะยาว ควรมีการเจริญเติบโต ตรวจความดันเลือด
ข้อห้ามใช้
ภาวะวิตกกังวล ภาวะใจไม่สงบ ภาวะซึมเศร้าขั้นรุนแรง
ยาต้านโรคจิต
Antipsychotic drug
โรคจิตเภท (schizophrenia) สัมพันธ์กับสารสื่อประสาทหลายชนิดโดยเฉพาะ dopamine (DA) และ glutamate
1 ระดับ DA ที่ mesolimbic tract
สูงผิดปกติ
อาการด้านบวก (positive symptoms)
• หลงผิด (delusion)
• ประสาทหลอน (hallucination)
ลดลง
อาการด้านลบ (negative symptoms)
•พดูน้อย
•แยกตวัจากสงัคม
อาการด้านพทุ ธิปัญญา(cognitive symptoms)
• ความจาลดลง
• ความสามารถในการวางแผน
และการแก้ปัญหาบกพร่อง
ความบกพร่องของตวัรบัของglutamateชนิด NMDA (NMDA receptor hypofunction)
อาการด้านบวก (positive symptoms)
• หลงผิด (delusion)
• ประสาทหลอน (hallucination)
อาการด้านลบ (negative symptoms)
•พดูน้อย
•แยกตวัจากสงัคม
อาการด้านพทุ ธิปัญญา(cognitivesymptoms)
• ความจาลดลง
• ความสามารถในการวางแผนและการแก้ปัญหาบกพร่อง
ยาหลักท่ีใช้รักษาโรคจิตเภท (antipsychotics)
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มหลัก
กลุ่มเก่า(first generation antipsychotics)
ฤทธิ์ยับยั้งตัวรับ D2 แรง (highpotencyfirst
generation antipsychotics) เช่น haloperidol และ fluphenazine
ฤทธิ์ยัยยั้งตัวรับ D2 ปานกลาง (moderatepotency first generation antipsychotics) แต่มีผลยับยั้งตัว รับ histamine (H1) และ muscarinic receptor เช่น perphenazine และ zuclopentixol อื่น ท่ีแรง ได้แก่ adrenergic α1,
มีฤทธิ์ยับยั้งตัวรับ D2 ต่ำ (lowpotencyfirstgeneration แต่มีผลยับยั้งตัวรับ histamine (H1) และ muscarinic receptor เช่น chlorpromazine และ thioridazine อื่นที่แรง ได้แก่ adrenergic α1, antipsychotics)
กล่มุใหม่ (second generation antipsychotics)
ยับยั้งตัวรับ D2
ยากลุ่มใหม่มีข้อดี เหนือกว่ายากลุ่ม เก่าคือลดความเสี่ยงในการเกิด extrapyramidal side effect (EPS)
เภสัชวิทยาของยาต้านโรคจิตเภท
•ยาต้านโรคจิตเภททุกชนิดมีกลไกลการออกฤทธิ์หลักในการยับยั้งตัวรับ D2 ที่ mesolimbic tract เพื่อบรรเทาอาการด้านบอก
•ยาแต่ละชนิดยังมีผลต่อตัวรับอื่นๆทำให้ยาแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันด้านประสิทธิภาพและอาการไม่พึงประสงค์
เภสชัจลนศาสตร์
ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติละลายในไขมันได้ดีและจับกับโปรตีน ในกระแสเลือดสูง
ส่วนใหญ่ถูกเมแทบอลซิมโดยเอนไซม์ cytochrome P450 จึงต้องระวัง การใช้ร่วมกับ ยาท่ีมีฤทธิ์กระตุ้น หรือยับยั้งการทางาน CYP450
ส่วนใหญ่มีค่าครึ่ง ชีวิตนาน จึงให้ยาวันละครั้ง ได้
ยาบางชนิด เช่น quetiapine และ ziprasidone มีค่าครึ่งชีวิตสั้นจึงให้วันละ 2 ครั้ง
ยากระจายตัวไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้ดี โดยเฉพาะที่ สมอง ปอด เนื้อเยื่ออื่น
อาการไม่พึงประสงค์
สัมพันธ์กับความแรงของยา ต่อการจับตัวรับชนิดต่างๆ
อาการแสดง คือ มีไข้ กล้ามเนื้อหดเกร็ง (muscle rigidity) การรู้ตัว หรือ อารมณ์ผิดปกติ เช่น ซึม สับสน กระวนกระวายก้าวร้าว ระบบประสาทอัตโนมัติทางานมากผิดปกติ เช่น ความดัน โลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว หอบ เหงื่ออออกมาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ creatinekinase(CK) สูง เม็ดเลือดขาวสูง (leucocytosis)
ยาสลบ (GENERAL GENERAL)
ยาสลบแบบสูดดม(Inhalational Anesthetics)
Enflurane
เป็นยาสลบที่คุณสมบัติคล้าย Halothane
อาจใช้ร่วมกับ Nitrous Oxide
Halothane
มีฤทธิ์ให้หลับและสลบเร็วมาก
ยาดมสลบที่นิยมมากที่สุดตัวหนึ่ง
ไม่ทําให้เคลื่อนไส้อาเจียน
NITROUS OXIDE
มีกลิ่นหอมออกฤเร็ว
เป็นแก๊สนิยมมาก
เป็นยาระงับปวดทางทันตกรรม
ยาสลบชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
Thiopental Sodium
ผลต่อระบบหายใจ
ผลต่อระบบไหลเวียนเลือด
กดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Ketamine
มีฤทธิ์ระงับปวดดี
เป็นการสลบผู้ใหญ่ ชนิดทที่ผู้ป่วยไม่ผิดปกติ
ไม่สนองต่อการกระตุ้น
Diazepam
ต้องใช้ร่วมกับ Opioid
พบอาการข้างเคียงน้อย
ยาผ่านรกได้ดี
Propanidid
เป็นยาทางทันตกรรม
คลื่นไส้ อาเจียน
นิยมใช้มาก ใช้ง่ายสะดวก ทำให้สลบเร็ว
ยาสลบที่นิยมใช้
Neuroleptic Drug
Narcotic Analgesic
Sedative Hypnotic
Anticholinergic
ยาชาเฉพาะที่ ( Local Anesthetics)
ยาชาที่นิยมใช้
Lidocaine
ง่วงนอน อ่อนเพลีย
นิยใช้ที่สุด
ใช้ภายนอก
Procaine
พิษต่อหัวใจค่อนข้างต่ำ มีฤทธิ์ ยับยั้งหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
Cocaine
ยาชาเฉพาะที่ตัวแรก กดการบีบตัวของหัวใจ
ester
Cocain
Tetracaine
Procaine
Amide
Lidocaine (Xylocaine®)
Bupivacaine (Marcaine®)
Etidocaine (Duranest®)
ยารักษาการนอนหลับที่ผิดปกติ (Drugs Used In The Sleep Disorders )
Benzodiazepines
Temazepam (Euhypnos® , Restoril®)
Flurazepam (Dalmadrom®)
นิยมใช้เป็นยานอนหลับ
ผลทําให้ผู้ป่วยหลับเร็ว
Nitrazepam (Mogadon®)
Chloral Hydrate
ค่อนข้างปลอดภัย
ต้องการให้หลับและหลับนาน
กลิ่น และรสไม่ดี
Barbiturates
Ultrashort Acting Barbiturates : Thiopental
Long Acting : Phenobarbital
ประโยชน์ในการรักษาโรค
แก้อาการชัก จากพิษบาดทะยัก
ลมชัก
ทำมห้สลบ