Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Name C02 เพศชาย อายุ 42 ปี 5 เดือน 26 วัน - Coggle Diagram
Name C02 เพศชาย อายุ 42 ปี 5 เดือน 26 วัน
ข้อวินิจฉัย : เสี่ยงต่อภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยารักษาปอดอักเสบตามแผนการรักษา
2.ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
ดูแลบรรเทาตามอาการหากมีอุณหภูมิร่างกายสูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส เช็ดตัวระบายความร้อน มากกว่า 38.5 องศาเซลเซียส tepid sponge
และวัดอุณหภูมิหลังทำ 30 นาทีให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา เช่น paracetamol
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนหากไม่ดีขึ้นภายใน 1-2 ชั่วโมงต้องพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจให้เร็วที่สุด
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ ซึมลง กระสับกระส่าย หายใจลำบาก เป็นต้น
ตรวจวัดสัญญาณชีพและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดทุก 1 ชม. จนกระทั่งปกติจึงตรวจวัดทุก 4 ชม.
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศาเพื่อช่วยให้หายใจสะดวก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอเพื่อช่วยลดการใช้ออกซิเจน
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและผล CXR
ข้อวินิจฉัย : ไม่สุขสบายเนื่องจากไอ มีน้ำมูกไหล
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ป่วยเรื่องอาการของโรค การรักษาและระยะเวลาการรักษาและเฝ้าระวังอาการ
2.ส่งตรวจ chest x-ray และติดตามผลการอ่านเพื่อรายงานแพทย์
3.แนะนำการดื่มน้ำบ่อยๆบรรเทาอาการไอและเจ็บคอ
4.ประเมินและติดตามสอบถามอาการต่างๆเป็นระยะตามเวลาที่ตรวจวัดสัญญาณชีพ
พยาธิสภาพ
SARS-CoV2
ACE2
Endothelial activation
Thromboinflammation
Microthrombi Deposition
Microvascular Thrombosis (DIC)
Hypovolemia
Tissue Ischemia
1 more item...
Nervous
Anosmia
Headaches
Dizziness
Gastrointestinal
Anorexia, Diarrhea
Diarrhea
Lungs
Cytokines
Widespread information
Cytokine storm
Systemic inflammatory response
Inflammation in different organs
3 more items...
Pulmonary Edema
Hypoxia
ARDS
Plasma leakage
↓ Blood volume and ↓ Total peripheral resistance
Blood vessel
Hepatic
Elevated Amino transferase
Dysregulation of RAAS
Dysregulation of Kinin-kallikrein
ข้อวินิจฉัย : มีโอกาสเกิดภาวะถ่ายอุจจาระเหลว และคลื่นไส้อาเจียน เนื่องจากอาการข้างเคียงของยาFavipiravir
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายอาการข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้นจากการรับประทานยา Favipiravir ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ถ่ายเหลว ผิวหนังเป็นผื่นแพ้
เฝ้าระวังอาการข้างเคียงของยา Favipiravir โดยอาการข้างเคียงที่รุนแรงที่ควรเฝ้าระวังต้องหยุดใช้ยา และให้การรักษาที่เหมาะสมทันที ได้แก่ Anaphyalaxis , Pneumonia , Acute kidney injury เป็นต้น
ประเมินอาการ และตรวจวัดสัญญาณชีพ เมื่ออ่อนเพลีย และถ่ายอุจจาระเหลว
หากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ดูแลให้ได้รับยา Motilium 1 tab ก่อนอาหาร เพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
แนะนำให้พักบนเตียง เมื่อมีอาการและได้รับสารน้ำที่เพียงพอ เพื่อบรรเทาอาการอ่อนเพลีย
ส่งตรวจ Serum electrolyte และติดตามรายงานแพทย์ตามแผนการรักษา
(ยุคล จันทเลิศ ,2564)
ข้อวินิจฉัย : ผู้ป่วยวิตกกังวลจากการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย พูดคุยด้วยท่าทีที่เป็นมิตรและเห็นใจ โดยแนะนำตัวเอง ขออนุญาตผู้ป่วยทุกครั้งที่ทำการพยาบาลพร้อมให้เหตุผลทุกครั้ง เพื่อให้ผู้ป่วยไว้วางใจ และเชื่อมั่น
ประเมินระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยโดยใช้แบบประเมินความวิตกกังวล
จากแนวทางการดูแลจิตใจในโรงพยาบาลสนาม จากกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข (2564) กล่าวว่าช่วยเหลือเบื้องต้นโดย
3.1 การถาม ให้เน้นการถามเพื่อกระตุ้นให้ระบายความรู้สึกโดยใช้คำถามปลายเปิด เช่น ช่วยเล่าสิ่งที่คุณกังวลให้ฟังหน่อย
3.2 การฟัง ควรตั้งใจฟังให้ตลอดเรื่องราวไม่ขัดไม่เปลี่ยนเรื่อง ไม่ตำหนิ ไม่วิจารย์ ฟังอย่างเข้าใจและเห็นใจ
3.3 การสังเกตได้จากกล้อง CCTV ที่มองเห็นผู้ป่วยควรสังเกตสีหน้า แววตา น้ำเสียง ว่ามีอารมณ์แบบไหน เช่น ดีใจ เศร้าหมอง ท้อแท้ เป็นต้น
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยพักผ่อน ลดสิ่งรบกวนต่างๆเท่าที่สามารถทำได้ เพื่อลดการรบกวนทางจิตใจ
รายงานแพทย์ในกรณีผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเพิ่มขึ้น หรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาคลายเครียดเพิ่มเติม
ประเมินความวิตกกังวล หลังให้การพยาบาลพร้อมบันทึกทุกเวรว่า ดีขึ้น/คงเดิม/ไม่ดีขึ้น