Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Postpartum uterine infection, นางสาวกัญญารัตน์ สุขประเสริฐ เลขที่ 5 …
Postpartum uterine infection
1.การประเมินสภาพ (ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์,2562)
1.2.จากการซักประวัติ
1.1.ระยะเวลาการคลอดยาวนาน ทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย
1.2.การสวนปัสสาวะแบบปล่อยบ่อยครั้ง
1.3.ภาวะโลหิตจาง หรือภาวะทุพโภชนาการ
1.4.การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง.การล้วงรก
1.5.มีภาวะตกเลือดหลังคลอด หรือการบวมเลือดที่อวัยวะสืบพันธ์ุ
1.6.ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์จริง
1.7.มีการฉีกขาดของช่องทางคลอดอย่างรุ่นแรง
1.9.มีโรคทางอายุรกรรมที่ทำให้ติดเชื้อง่าย เช่น โรคเบาหวาน
1.8.สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี
1.1 การตรวจร่างกาย
1.การติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดทางหน้าท้อง จะพบแผลมีการ บวม แดง ร้อน อาจมี discharge T=38-38.5 องศาเซลเซียส
2.การติดเชื้อเยื่อบุโพรงมดลูก เยื่อบุอุ้งเชิงกราน หรือกล้ามเนื้อมดลูก จะพบ T= 38.5-39.5 องศาเซลเซียส ระดับยอดมดลูกอยู่สูง หนาวสั่น
ปวดศีรษะ ปวดหลัง น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ปริมาณอาจมากขึ้นหรือลดลง เหงื่อออกมาก
3.มีความรู้สึกวิตกกังวล มีภาวะเครียด
2.ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
(นันทพร แสนศิริพันธ์,ฉวี เบาทรวง,2560)
1.จำนวนเม็ดเลือดขาวสูง(WBC)
2.อาจพบมีการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดงสูง
3.ซีดโลหิตจางเนื่องจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
4.ความเข้มข้นเลือดต่ำ
5.การตรวจหาเชื้อจากการนํานํ้าคาวปลาหรือสิ่งคัดหลั่งมาย้อมสี gram stained อาจพบ เชื้อ gramm-positive cocci เช่น streptococci หรือ staphyloccocci
6.การเพาะเชื้อจากน้ำเลือดบริเวณปากมดลูกหรือในโพรงมดลูกอาจพบ anaerobic หรือ aerobic bacteria ภายใน 36-48 ชั่วโมง
จากCase กรณีศึกษา
ได้แก่ ระดับยอดมดลูกค่อนข้างสูงประมาณ 2 นิ้วมือเหนือระดับสะดือ มีอาการปวดมดลูกมาก น้ำคาวปลาเป็นสีแดงจำนวนมาก มีกลิ่นเหม็น การเพาะเชื้อจากน้ำคาวปลาพบว่า E.coli และ group B streptococcus จำนวนมาก
WBC
= 15,000 103/ul H,
HCT
= 28.0 % L
5.อาการและอาการแสดง
(ณัฐพร อุทัยธรรม,2563)
มีไข้ อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 38 องศาเซลเซียส ติดต่อกัน 2 วัน ไม่นับรวมไข้ที่เกิดขึ้น ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ไม่สุขสบาย ครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวสั่น
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
กรณีไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดภาวะช็อค ทำให้มารดาเสียชีวิตได้
เบื่ออาหาร
กดเจ็บบริเวณท้องน้อย ปวดท้องน้อย
คลื่นไส้ อาเจียน
ลำไส้อุดตัน ท้องอืด
ปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
4.ปัจจัยส่งเสริมของการเกิดการติดเชื้อ 2ทาง (ณัฐพร อุทัยธรรม,2563)*
เชื้อแบคทีเรียที่มีอยู่ภายในร่างกาย ร่างกายอ่อนแอ หรือมีการฉีกขาด โดยเฉพาะระยะหลังคลอด สรีระของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จะทำให้เชื้อแบคทีเรียที่ เคยอยู่ในภาวะปกติแสดงพยาธิสภาพที่มีความรุนแรงขึ้น การลอกตัวออกของรก เนื้อเยื่อภายในโพรงมดลูก ช่องคลอดบอบช้ำ ฉีดขาดจากการคลอด จึงเป็นสภาพที่เหมาะต่อการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่เดิมทำให้เกิดการติดเชื้อ
Doderlein bacili พบในช่องคลอด
Escherichia Coli พบในลำไส้ใหญ่ ช่องคลอด
Streptococus Faecalis พบที่ทวารหนัก บริเวณฝีเย็บ
Anaerobic Streptococci Aureus พบในช่องคลอด
Anaerobic Clostidium Welchii พบในช่องคลอด
เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ภายนอกร่างกาย เป็นการติดเชื้อจาก บุคคลอื่นที่เป็นพาหะนำมาหรือจากสิ่งแวดล้อม เช่น ฝุ่นละออง ผู้ดูแลเป็นหวัด
6.การรักษา
(ณัฐพร อุทัยธรรม,2563)
การให้ยาปฏิชีวนะ ควรคำนึงถึงชนิดของยาต้องเลือกให้ตรงกับเชื้อ และขนาดของยา ซึ่งอาจต้องเพิ่มเพราะปริมาณเลือดเพิ่มขึ้นกว่าก่อนตั้งครรภ์ การอักเสบจะพบแบคทีเรียทั้งชนิด Aerobe และ Anaerobe ดังนั้นต้องเลือกใช้ยาที่มีอำนาจทำลายเชื้อทั้ง 2 ประเภท ชนิดสเปคตรัมกว้าง เช่น Ampicillin ให้ขนาด 4-8 กรัม/วัน (ทางหลอดเลือดดำ) ให้ยาต่อเนื่องจนไม่มีไข้ 24-48 ชั่วโมง จึงเปลี่ยนเป็นชนิด รับประทาน แล้วให้ต่อไป 4-5 วัน
กรณีติดเชื้อขั้นปานกลางหรือรุนแรง เช่นรายที่เกิดตามหลังการผ่าตัดคลอด หรือรายที่มีการแตก ของถุงน้ำก่อนคลอดเป็นเวลานาน ควรรักษาด้วยยาปฏิชีวนะหลายตัวร่วมกัน เช่น Penicillin ร่วมกับ Aminoglycoside ควรให้ Penicillin ทางหลอดเลือดดำ 3-5 ล้านหน่วย ทุกๆ 6 ชั่วโมง หรือ Ampicillin 1-2 กรัม ทางหลอดเลือดดำทุก 4-6 ชั่วโมง Aminoglycoside ที่นิยมคือ gentamicin 60-80 มก. ทุก 8 ชม. ซึ่ง ได้ผลดีกับ Gram negative bacilli รายที่รุนแรงหรือไม่ตอบสนองต่อ Penicillin ร่วมกับ Aminoglycoside ควรได้รับการรักษาด้วย metronidazole ร่วมด้วย
การขูดมดลูก ในรายที่มีเศษรกค้างและมีแอ่งฝีหนองที่ไม่สามารถระบายเองได้
การระบายหนอง (Colpotomy) ในรายที่มีฝีหนองคั่งไม่สามารถระบายเองได้ เช่น คั่งใน cul de sac
การตัดมดลูกพร้อมรังไข่ทั้งสองข้าง ทำนารายที่ช็อคจากการติดเชื้อที่ไม่ตอบสนองต่อยา ปฏิชีวนะ หรือในรายที่แผลผ่าตัดทำคลอดที่มดลูกแยก
7.การพยาบาลหญิงหลังคลอด (ณัฐพร อุทัยธรรม,2563)
แนะนำและดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา เน้นการรับประทานยาให้ครบถ้วน และ สังเกตอาการข้างเคียงที่อาจเป็นได้(ณัฐพร อุทัยธรรม,2563)
จัดให้นอนท่าศีรษะสูง (Fowler’s) ช่วยให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก ป้องกันการขังของ น้ำคาวปลาที่มีเชื้อ ให้นอนพักผ่อนมากที่สุด(นันทพร แสนศิริพันธ์,ฉวี เบาทรวง,2560)
ถ้ามีอาการปวดมดลูกรุนแรงหรือไม่สุขสบายจากการปวดท้อง ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา(นันทพร แสนศิริพันธ์,ฉวี เบาทรวง,2560)
ในรายที่มีอาการรุนแรง อาจได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำร่วมกับออกซิโตซิน (Oxytocin) เพื่อกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา(นันทพร แสนศิริพันธ์,ฉวี เบาทรวง,2560)
ดูแลให้รับประทานอาหารให้เพียงพอ และมีคุณภาพ(ณัฐพร อุทัยธรรม,2563)
แนะนำให้งดการมีเพศสัมพันธ์ และงดสวนล้างช่องคลอด แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะ สืบพันธุ์ และล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ อาจต้องแยกหญิงหลังคลอด
ไม่แช่อ่างน้ำหรือว่ายน้ำ เนื่องจากปากมดลูกยังเปิดอยู่ อาจทำให้มีน้ำเข้าไปในโพรงมดลูก ทำ ให้เกิดการติดเชื้อได้(นันทพร แสนศิริพันธ์,ฉวี เบาทรวง,2560)
9.แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เมื่อชุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเปื้อนหนองที่ไหลออกมา เพราะถ้าทิ้งไว้นาน อาจมีการปนเปื้อนเกิด
การติดเชื้อใหม่ รวมทั้งสอนการใส่และถอดผ้าอนามัยที่ถูกต้อง
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์,2562)
10.ให้กำลังใจ อธิบายถึงพยาธิสภาพของการติดเชชื้อบริเวณฝีเย็บ การรักษา และการปฎิบัติตนเพื่อลดความวิตกกังวล (ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์,2562)
3.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์,2562)
1.มีการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ มดลูก
2.พักผ่อนได้น้อยเนื่องจากวิตกกังวลเกี่ยวกับการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บหรือแผลผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
3.พักผ่อนได้น้อยเนื่องจากมีไข้สูงจากภาวะติดเชื้อที่มดลูก
4.ดูแลตนเองไม่เหมาะสม เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุ
นางสาวกัญญารัตน์ สุขประเสริฐ เลขที่ 5
รหัสประจำตัว 612801005