Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด (Hemodynamics disorder),…
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการไหลเวียนเลือด
(Hemodynamics disorder)
ภาวะเสียสมดุลของสารสารน้ำในร่างกาย (Fluid imbalance)
สมดุลแรงดัน Starling forces
Capillary hydrostatic pressure
แรงดันของสารน้ำที่อยู่ในหลอดเลือดฝอยดันน้ำออกนอกหลอดเลือด
Interstitial hydrostatic pressure
แรงดันของสารน้ำระหว่างเซลล์ดันน้ำเข้าสู่หลอดเลือด
Capillary oncolic (osmotic) pressure
แรงดันออสโมซิส ดึงน้ำกลับเข้าหลอดเลือด ขึ้นอยู่กับปริมาเนอัลบูมิน
Interstitial oncotic (osmotic) pressure
แรงดันออสโมซิสดึงน้ำออกจากหลอดเลือดฝอย
Shock
ประเภท
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นนอกหัวใจ (Obstructive Shock) เกิดจากเลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ได้ตามปกติซึ่งเป็นผลที่เกิดได้จากหลายสาเหตุเช่นลิ่มเลือดอุดกันในปอด
ภาวะช็อกจากโรคหัวใจ (Cardiogenic Shock) มาจากหัวใจและหลอดเลือดขนาดใหญ่ได้ความเสียหายหรือเกิดความผิดปกติจึงทำให้เลือดสูบฉีดไปเลี้ยงทั่วร่างกายได้น้อยลงซึ่งอาจเป็นผลมาจากกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือเต้นช้าผิดปกติกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
ภาวะซื้อกจากปริมาณเลือดลดลง (Distributive Shock) เกิดขึ้นเมื่อหลอดเลือดขยายตัวใหญ่ขึ้น แต่ยังมีปริมาณเลือดเท่าเดิมจึงทำให้หลอดเลือดสูญเสียการดึงตัวและเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ได้ไม่เพียงพอซึ่งมีหลายสาเหตุเช่นปฏิกิริยาภูมิแพ้อย่างฉับพลันภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดพิษของยา (Drug Toxicity) หรือการได้รับบาดเจ็บทางสมอง
ภาวะช็อกจากร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่ (Hypovolemic Shock) เกิดจากปริมาณน้ำและเกลือแร่ในร่างกายลดลงหรือปริมาณเลือดในร่างกายลดลงทำให้หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเพื่อขนส่งออกซิเจนและสารอาหารไปลี้ยงทั่วร่างกายเพียงพอ
อาการ
ชีพจรเต้นเร็ว แต่เบาหรือบางรายอาจไม่เต้น
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติหายใจตื้นและเร็ว
ตาค้างตาเหลือก
เจ็บแน่นหน้าอก
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ความรู้สึกตัวลดลงหรือหมดสติ
การรักษา
ภาวะช็อกจากอาการภูมิแพ้อย่างรุนแรงจะใช้ยาอีไพเนฟริน (Epinephrine) หรือยาชนิดอื่นเพื่อช่วยต้านสารที่กระตุ้นให้ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับการให้เลือดเมื่อมีประวัติการเสียเลือดมาก
ในรายที่พบว่ามีประวัติการเสียน้ำในร่างกาย เช่น อาเจียนถ่ายเหลวปริมาณ มากอาจให้น้ำเกลือเพื่อรักษาภาวะช็อกจากร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่อย่างรุนแรง
ผู้ที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดรักษาด้วยการจ่ายยาปฏิชีวนะหรือผู้ที่ช็อกจากสาเหตุของโรคหัวใจจะรักษาด้วยการใช้ยาการสวนหัวใจหรือการผ่าตัดแรง
Ischemia / Infarction
Gangrene
1.Dry gangrene: พบได้ที่แขนขาและนิ้วเมื่อเกิดการตายของเนื้อเยื่อจะมีการระเหยของนอกจากเนื้อที่ตายนั้นทำให้แห้งเที่ยวและมีสีดำ
2.Wet gangrene ใช้เรียกในเนื้อตายที่มีการติดเชื้อซ้ำพบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวานที่มี intarct ของนิ้วเท้าการตายของล้าได้
Infarction
Arterial-เกิดจากการอุดกันของหลอดเลือดแดง
Overlous- เกิดจากการอุดกันของหลอดเลือดดำ
Hypotensive- เกิดจากการลดลงของเลือดที่มาเลี้ยงเนื้อเยื่อ ส่วนใหญ่สัมพันธ์กับภาวะ shock ที่มีความดันเลือดต่ำ
Ischemia
ภาวะขาดเลือดเนื่องจากหลอดเลือดถูกอุดกั้นจากเหตุต่าง ๆ
การขาดเสียดที่เกิดอย่างฉับพลันจะทำให้เกิดการตายแบบ intarction และ gangrene
ส่วนการขาดเลือดที่เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ จะเกิดการเสื่อมและฝ่อของอวัยวะแทน
Hemostasis & Hemorrhage
Hemostasis
เป็นกระบวนการของร่างกายในการควบคุมเมื่อเกิดการบาดเจ็บของหลอดเลือดโดยเก็ตเป็นลำดับขั้นตอนดังนี้
Vasoconstriction answadhusa arteriole เป็นผลมาจากการตอบสนงของระบบประสาท (reflex neuropernika response) และสาร endothelin ซึ่งเป็นสารที่ออกฤทธิ์ให้หลอดเลือดหดตัว
Primary hemostasis เมื่อมีการบาดเจ็บของหลอดเลือดจะทำให้ xtracellular matrix ที่อยู่ภายนอกหลอดเลือดชักนำให้เกร็ดเลือดมาเกาะบริเวณนั้นและเกิดการกระตุ้นเกร็ดเลือด (platelet activation) ทำให้เกร็ดเลือดหลั่งสารที่สามารถชักนำให้เกร็ดเลือดอื่นๆมาเกาะในบริเวณนั้นมากขึ้น (platelet Aggregation) เกิดเป็น hermostatic plug
Secondary hemostasis หลังจากเก็บ hemostatic plug เซลล์เยื่อบุผนังหลอดเลือดจะหลั่งสาร tissue factor และกระตุ้นสารที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด (Coagulation tactors) ทำให้เกิดการสร้าง thrombin และ fibrin ภายในลิ่มเลือดนอกจากนี้ thrombie ยังสามารถกระตุ้นให้เกร็ดเลือดเข้ามาในบริเวณดังกล่าวมากขึ้นเกิดกระบวนการปรับให้ลิ่มเลือดมีความแข็งแรงมากขึ้น
Antithrombotic counter regulation กระบวนการยับยั้งไม่ให้เกิดเป็นเลือดมากเกินไปเช่นมีการหลั่งสาร tissue plastminogern activator (t-PA) ซึ่งทำหน้าที่สลายลิ่มเลือดนั้นและ thronipermodulin ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งการทำงานของ coagulation factors
Hemorrhage
ภาวะที่มีเลือดออกมานอกหลอดเลือดสาเหตุเนื่องมาจากมีการฉีกขาดของหลอดเลือตโตยามารถเกิดขึ้นได้ทั้งห R15 ดเลือดขนาดเล็กและขนาดใหญ่
ภาวะเลือดออกที่เกิดขึ้นจากหลอดเลือดขนาดเล็กมักมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของผนงหลอดเลือตเองความผิดปกติของเกร็ดเลือดหรือความผิดปกติของสารที่ทำให้เกิดการแข็งตัวของเลือด (coagulation factors)
ในกรณีของหลอดเลือตขนาดใหญ่มักมีสาเหตุมาจากความเสียหายที่เกิดกับหลอดเลอดโดยตรงเช่นอุบัติเหตุ otherosclerosis, กาวะอักเสบของผนังหลอดเลือดหรือการสุกลามของมะเร็งสู่ผนังหลอดเลือด
Hemorrhage - ตามตําแหน่งที่เกิด
Epistasis: หรือเลือดกำเดาเกิดจากการถูกขาดของหลอดเลือดในโพรงจมูก
Hemoptosis: การไอเป็นเลือดสาเหตุที่พบบ่อยคือการติดเชื้อวัณโรดและมะเร็งปอด
Hermusemnesis: การอาเจียนเป็นเลือดมักเกิดจากภาวะการมีเลือดออกในหลอดอาหารหรือกระเพาะอาหาร
Hormayochezia: การถ่ายเป็นเลือดเนื่องจากมีเลือดออกในลำใส้ใหญ่ซึ่งต่างจาก melona คือการถ่ายอุจจาระเป็นสีดำเนื่องจากมีเลือดออกในกระเพาะอาหารส่วนล่าง
Hennaturia: ปัสสาวะเป็นเลือดมีทั้ง microscopic และ macroscopic hematuria Intracerebral
Intracerebral hemorrhage: ภาวะเลือดออกในสมอง
Hematome: ภาวะที่มีเลือดออกและสะสมในเนื้อเยื่อมักมีขนาดใหญ่และสามารถคล้ำได้เป็นก้อนหากมีขนาดใหญ่อาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
Hemopericardium: เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardial cavity) ส่วนใหญ่เกิดจากการแตกของหลอดเลือดเอออร์ตาหรือห้องหัวใจทะลุ
Hemothorax: เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอดอาจเกิดจากอุบัติเหตุซี่โครงหักแล้วมีการฉีกขาดของหลอดเลือด interCostal artery หรือ เกิดจากการฉีกขาดของเอออร์ตา
Hemoperitoneum: เลือดออกในช่องท้องโดยมากเกิดจากแตกของหลอดเลือดเอออร์ตาโป่งพอง aortic (aneurysrn) หรืออุบัติเหตุที่มีการแตกของตับ, ม้าม, หรือเอออร์ตาเอง
Hemarthrosis: เลือดออกในข้อพบบ่อยในโรคฮีโมฟีเลีย
Hemorrhage - ตามขนาดที่เกิด
Petechiae: เป็นจุดเลือดออกขนาดเล็กในชั้นผิวหนังหรือเยื่อบุ serosa ขนาดประมาณ 1-3 มม สาเหตุเนื่องจากมีความผิดปกติของผนังหลอดเลือดหรือความผิดปกติของเกล็ดเลือด
Purpura: เป็นจุดเลือดออกขนาดเล็กที่ผิวหนังหรือเยื่อบุ seross หรือขนาดตั้งแต่ 3-10 มม. สาเหตุเหมือนกับ petechise
Ecchymosis: เป็นภาวะเลือดออกที่เกิดขึ้นที่ผิวหนังมีขนาดตั้งแต่ 1-3ชม. สาเหตุมักเกิดจากความผิดปกติขอกสารทำหน้าที่ในการแข็งตัวเลือด (coagulation factors)
พยาธิสภาพและผลกระทบของ Hemorrhage
ขึ้นอยู่กับตําแหน่งที่เกิดพยาธิสภาพปริมาณเลือดที่ออกเช่น เลือดออกในสมองอาจเกิด brain herniation ขึ้นได้
ส่วนภาวะเลือดออกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและเสียเลือดในปริมาณมากผู่ป่วยจะเกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือดเรียกว่า hypovolemic shock
Thrombosis / Embolism
Disseminated intravascular coagulation (DIC)
การเกิด microthrorobus ในหลอดเลือดขนาดเล็กทั่วร่างกาย americles Capillaries and venules)ที่เกิดจากการกระตุ้นระบบการแข็งตัวของเลือด
เมื่อเกิด microthrornbus จํานวนมากมายในหลอดเลือดทําให้ร่างกายมีเกร็ดเลือดไฟบรินและ coagulator factor ต่างๆตำ่เนื่องจากมีการใช้ไปเป็นจํานวนมากผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีเลือดออกในหลายอวัยวะเนื่องจากขาดองค์ประกอบที่จําเป็นต้องใช้ในการห้ามเลือด
สาเหตุที่พบบ่อย: DIC
Infection-Gram negative sepsis, fungal infection, meningococcemia, เป็นต้น
Neoplasm-carcinoma, promyelocytic leukemia
Massive tissue injury-trauma, burns, extensive surgery
Shock-any form
Obstetric complications-amniotic fluid embolism, eclampsia, abruptio placenta
Deep Vein Thrombosis: DVT
is a blood clot that forms inside a vein
usually deep within your leg, Bishop
The danger is that part of the clot can break off and travel through your bloodstream.
otrcgoaunldagmetasgtuecokridneyaotuhr lungs and block blood flow, causing
Who Is Likely to Get DVT?
Have cancer
Have had surgery
Are older
Smoke
Are overweight or obese
Sit for long times, like on a long airplane flight
Are on extended bed rest
Thrombosis
ก้อนเลือดที่เกิดขึ้นกายในหลอดเลือดหรือในหัวใจขณะที่ยังมีชีวิตอยู่จะเกาะติดกับผนังของหลอดเลือดหรือ ผนังของหัวใจและอาจจะก่อให้เกิดการอุดกั้น การไหลเวียนของเลือดได้
สาเหตุของการเกิด Thrombus (Rudolf Virchow)
การบาดเจ็บของผนังหลอดเลือด (Endothelial injury)
เช่น การอักเสบของหลอดเลือดที่ทําให้ผนังหลอดเลือดไม่เรียบ
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด (Abnormal blood low) ทั้งเลือดไหลช้าลง, เลือดหยุดไหลและเลือดที่มีการไหลวน (turbulent flow)
การเปลียนแปลงขององค์ประกอบในเลือดกาวะที่มีสารประเภท procoagulant เพิ่มขึ้น รวมทั้งภาวะที่มีสารประเภท anticoagulant ลดลง (Hypercoagulability)
การเปลี่ยนแปลงใน thrombus
Resolution: ก้อน thronibus อาจจะละลายไปโดยกระบวนการ fibrinolysis
Propagation: ก้อน thrombus ที่ไม่สามารถละลายได้จะมีการสะสมของเกร็ดเลือด,
ไฟบรินและเม็ดเลือดมากขึ้นนทําใหก้อนเลือดขยายออกเรื่อยๆ
Embolization: ก้อน thrombus
ที่แตกและหลดจะลอยไปตามกระแสเลือดไปอุดกั้นหลอดเลือดส่วนอื่นเรียกส่วนที่หลุดออกไปว่า embolus
Organization: ก้อน thrombus ที่สลายไม่หมดจะมีการเจริญของ granulations tissue เข้ามาในระยะหลังจะเปลี่ยนแปลงจนกลายเป็น fibrosis ในก้อน ในบางราย capillary ที่เกิดขึ้นอาจงอกทะลุก้อนทําให้เกิดขึ้นในก้อน thronibus เลือดสามารถไหลผ่านได้อีก ครั้งเรียกว่า recanalization
ผลของการเกิด thrombosis
Infarction: เป็นลักษณะที่พบใน arterial thrombosis เช่น ปา raybosis lunaonton coronary artery ที่ทําให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
2Edema and obstruction of venous outflow : พบใน venous thrombosis.
Embolism
ภาวะที่มีสิ่งใดสิ่งหนึ่งไหลไปตามกระแสเลือดแล้วไปอุดกัน( หลอดเลือดส่วนปลายสิ่งที่อุดกัน นั้นเรยีกวา่ embolus
Sources of Thromboemboli
Hear
Left ventricle / imyocarcial infarction
Left atria / fibrillation
Rheumatic heart disease
Cardiomyopathy
Infective endocarditis
Valve prosthesis
Vessels
Ulcerated arteriosclerotic plaques
Aortic aneurysm
Arterial prosthesis
ชนิดของ embolus
Thromboembol มีความสําคัญทางคลินิกและพบบ่อยที่สุดมากกว่าร้อยละ 95 เป็น embol ที่หลุดมาจากบรเิวณที่เกิด thrombosis
Air (gas) emboli
พบได้ในนักดําน้ำที่ขึ้นสู่ผิวน้ำเร็วเกินไปทําให้แก๊สในโตรเจนที่ละลายในเลือดในขณะที่อยู่ใต้น้ำกลายสภาพเป็นฟองอากาศอุดกันในเส้นเลือดเรียกกลุ่มอาการนี้ว่า galsson diseast หรือพบในกรณีที่ฉีดยาใหผู้ป่วยแล้วไม่ใส่อากาศที่ปลายเข็มก่อน
Bone tnarrow ernboi เกิดจากการหลุดของไซกระดูกพบได้บ่อยในขณะที่ทํา cardiopulmonary resuscitatios)แล้วมีการหัก ของกระดูกซี่โครงมักไม่ก่อใหเ้กิดความผิดปกติทางคลินิกเนื่องจากมักอุตโนแชมงขนาดเล็กของpulrnonary arter
Turnor emboli ทําให้เกิดการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอื่น
Cholesterol emboli เกิดจากการหลุดของ cholesterol ที่ atherosclerotic plaque
Amniotic fluid emboli พบได้ไม่บ่อยประมาณ 1: 80000 รายของการคลอดเกิดเนื่องจากมีการฉีกขาดของ uterine vein ขณะที่คลอด
Fat embolism เกิดจากการหลุดของหยดไขมัน (fat globule)
เข้าไปในระบบไหลเวยีนเลือดพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีการหักของกระดูกท่อนใหญ่โดยเฉพาะกระดูกต้นขา
Foreign body emboli เชน่ ผงแปBงจากถุงมือหรือเศษไหมที่ใช้เย็บแผลหลุดเข้าเส้นเลือดในขณะทําการผ่าตัดพบได้ไม่บ่อย
ผลของ embolus
คล้ายกับของ thrombus ถ้ามีขนาดเล็กหรือเนื้อเยื่อมีเลือดไหลเวียนมาเสริม เพียงพอก็มักจะไม่มีผลอะไร แต่บางราย embolus ไปอุดหลอดเลือดที่สําคัญเช่น pulmonary embolism หรือ coronary artery emboism ก็สามารถทําให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
ผลที่สําคัญคือการเกิด infarct และ gangrene ของอวัยวะในรายที่ ermibolus นั้นเกิดจากการหลุดของก้อนเลือดที่มีการติดเชื้อก็จะทําให้เกิดการอักเสบ ฝีในเนื้อเยื้อที่ถูกอุดกัน( ด้วย embolus นั้นได้ส่วน erribolus ที่ประกอบด้วยเซลล์มะเร็งอาจทําให้เกิดมะเร็งแพร่กระจาย(metastasis)
Emboli แบ่งตามตําแหน่งที่พบ
Venous emboli เกิดในหลอดเลือดดําและมีการไหลต่อไปยังปอด
Arterial emboli ส่วนใหญ่เกิดที่หัวใจเอออร์ตาและหลอดเลือดขนาดใหญ่ propoli นี้จะไหลไปตามการไหลเวียนเลือดแดงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไปที่สมองTo juua un mesenteric artery
Paradoxical embol เป็น ernbkoli ที่เกิดในหลอดเลือดดําแต่มีการหลุดเข้าไปยังระบบไหลเวียนเลือดแดงโดยผ่านทาง forarmen wale หรือ พยาธิสภาพใดๆ ที่ทําให้เกิด right to left shunt
การตายของเนื้อเยื่อที่เกิดจากการขาดเลือดมาเลี้ยงแบ่งออกเป็น